การประชุมผู้บริหารกรมอนามัย เพื่อทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
MG415 Current Issues in Modern Management
Advertisements

Development Communication Theory
Thai Delmar’s core competencies
Yamaha Electrics Co.,Ltd.
หลักการ และเทคนิควิธีการกำหนด แผนปฏิบัติราชการสำนักงานยุติธรรมจังหวัด
วิสัยทัศน์ พันธกิจ ศูนย์อนามัยที่ 4
การจัดการ (Management)
1 1 การพัฒนาภาวะผู้นำ กับการบริหารการเปลี่ยนแปลง อนุชิต ฮุนสวัสดิกุล สำนักงาน ก.พ.ร.
1 ทบทวน แผนกลยุทธ์สำนักงาน เขต พื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 9.
PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 28 ตุลาคม.
การจัดทำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล
การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การนำเสนอ โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา
ทิศทางการพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ 4.0
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
ระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่
Individual Scorecard การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล และเทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดรายบุคคล.
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
Road to the Future - Future is Now
Week 4 โครงการบริษัทจำลองเพื่อการผลิตภาพเคลื่อนไหวและสื่อผสม Animation and Multimedia Project CAG2901.
The Balanced Scorecard & KPI
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐPMQA สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
การทำงานเชิงวิเคราะห์
หมวด ๒ กลยุทธ์.
Health Promotion & Environmental Health
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์ กรมอนามัย แผนปฏิบัติการ
ภาพรวมของ รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ศอ5
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การขับเคลื่อน บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล : Governance Excellence
การจัดการความรู้ตามแนวทาง PMQA
วัฒนธรรมองค์กร กรมอนามัย
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS. Excellence Training Institution
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
การบริหารกำลังคนภาครัฐ
โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
PMQA ปี 53 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ SP ส่วนราชการ SP 5 ส่วนราชการมีการถ่ายทอด (Cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงาน(สำนัก/กอง)
การบริหารการปฏิบัติงานของทรู (Cycle of Performance Management System)
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร. DMS.
โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์
หมวด 6.2 กระบวนการสนับสนุน
การบูรณาการ สมรรถนะที่ ก.พ. กำหนด สมรรถนะ M.O.P.H.
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
การบริหารค่าจ้างเงินเดือนและค่าตอบแทนเชิงกลยุทธ์
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
Public Health Nursing/Community Health Nursing
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
แนวทางการพัฒนาระบบราชการ ของกรมอนามัย และหน่วยงานในสังกัด
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
คัดสรรกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ประจำปี 2562
โรงพยาบาลจันทรุเบกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมผู้บริหารกรมอนามัย เพื่อทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยม และการขับเคลื่อน PMQA กพร. กรมอนามัย

ประเด็นที่นำเสนอเพื่อพิจารณา ทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยม กรมอนามัย เป้าหมายการการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย (รางวัล PMQA) Strategy Map กรมอนามัยที่เป็นเอกภาพ ระบบ และ กลไกการดำเนินการ PMQA กรมอนามัย 5. หน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ และ ระบบบริหารงานกลาง 6. Road Map ในการดำเนินการ กพร. กรมอนามัย

อำนาจหน้าที่ กรมอนามัย ตามกฎกระทรวงฯ(เดิม) 1) ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุขและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 2) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีการสร้างเสริมสุขภาพและการจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อสุขภาพ รวมทั้งการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 3) กำหนดและพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานและกฎเกณฑ์ รวมทั้งการรับรองมาตรฐานการสร้างเสริมสุขภาพและการจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อสุขภาพ 4) พัฒนาระบบและกลไกเครือข่ายในการเฝ้าระวัง และการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพทั้งในระดับชาติ ระดับท้องถิ่น ระดับโครงการหรือกิจกรรมใดๆ 5) พัฒนาระบบและกลไกการดำเนินงานให้เป็นไปตามกฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบ 6) ถ่ายทอดและเผยแพร่องค์ความรู้และเทคโนโลยีการสร้างเสริมสุขภาพและการจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อสุขภาพ และการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพแก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและประชาชน 7) ส่งเสริมและพัฒนาขีดความสามารถและการมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพ การจัดการสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ และการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพแก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชน 8) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรมอนามัย หรือตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย กพร. กรมอนามัย

3.1.2 หน้าที่และความรับผิดชอบ กรมอนามัย ปัจจุบัน (ตามกฎกระทรวงฯ ปี 2545) ปรับปรุงใหม่ (ร่างกฎกระทรวงฯ พ.ศ. ....) 2) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีการสร้างเสริมสุขภาพและการจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อสุขภาพ รวมทั้งการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 3) กำหนดและพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานและ กฎเกณฑ์ รวมทั้งการรับรองมาตรฐานการสร้าง เสริมสุขภาพและการจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อ สุขภาพ 4) พัฒนาระบบและกลไกเครือข่ายในการเฝ้าระวัง และการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพทั้งในระดับชาติ ระดับท้องถิ่น ระดับโครงการหรือกิจกรรมใดๆ 1) ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุขและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 5) พัฒนาระบบและกลไกการดำเนินงานให้เป็นไปตามกฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบ 1) กำหนดและพัฒนานโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนงานหลักด้านการส่งเสริมสุขภาพและการอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ 2) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีการบริการส่งเสริมสุขภาพ การจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ และการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 3) กำหนดและพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานและกฎเกณฑ์ รวมทั้งการรับรองมาตรฐานการบริการส่งเสริมสุขภาพ และการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม 4) พัฒนาระบบและกลไกเครือข่ายในการเฝ้าระวังสถานะทางสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ และสภาพแวดล้อม รวมทั้งการพัฒนาระบบประเมินผลกระทบต่อสุขภาพทั้งในระดับชาติ ระดับท้องถิ่น ระดับโครงการหรือกิจกรรม 5) พัฒนากฎหมาย ระบบ กลไกและดำเนินงานตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม

3.1.2 หน้าที่และความรับผิดชอบ กรมอนามัย ปัจจุบัน (ตามกฎกระทรวงฯ ปี 2545) ปรับปรุงใหม่ (ร่างกฎกระทรวงฯ พ.ศ. ....) 6) ถ่ายทอดและเผยแพร่องค์ความรู้และเทคโนโลยีการสร้างเสริมสุขภาพและการจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อสุขภาพ และการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพแก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและประชาชน 7) ส่งเสริมและพัฒนาขีดความสามารถและการมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพ การจัดการสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ และการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพแก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชน 8) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรมอนามัย หรือตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย 6) ถ่ายทอด และ พัฒนาศักยภาพ ขีดความสามารถ และการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพ การจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ การอนามัยสิ่งแวดล้อม และการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพแก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคี เครือข่าย และชุมชน 7) ประสานงาน ร่วมมือ สนับสนุน และติดตามนิเทศงานหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคี เครือข่าย รวมทั้งการประสานงานระหว่างประเทศ ในงานด้านการส่งเสริมสุขภาพ การจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ การอนามัยสิ่งแวดล้อม และการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 8) สร้างกระแสสังคม และรณรงค์ เผยแพร่องค์ความรู้และเทคโนโลยีการส่งเสริมสุขภาพ การจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ การอนามัยสิ่งแวดล้อม และการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพในสังคม 9) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรมอนามัย หรือตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

วิสัยทัศน์กรมอนามัย (พ.ศ. 2551-2554) “องค์กรหลักในการส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ เพื่อส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี” กพร. กรมอนามัย

Specific population group (Who?) Specific health issues (Which?) แนวความคิดในการดำเนินงานระดับสากล Setting (Where ?) Health determinants that can be changed Healthy environ-ment Healthy life style Effective health services Quality of Life /Health Specific population group (Who?) Specific health issues (Which?) Social activity & influence Health related policies & action Health awareness Effect of health promotion Supporting general condition Social mobilization Education & Training กพร. กรมอนามัย

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การบริการส่งเสริมสุขภาพในสถานบริการ การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม Healthy environ-ment Healthy life style Effective health services Quality of Life /Health Social activity & influence Health related policies & action Health awareness Social mobilization Supporting general condition Education & Training การร่วมมือกับภาคีเครือข่าย (อปท./กระทรวง ศษ./พม./มท./NGOs/ชุมชน) การร่วมมือกับภาคีเครือข่ายกระทรวง ศษ./พม./มท. การร่วมมือกับภาคีเครือข่ายกระทรวง ศษ./พม./มท. กพร. กรมอนามัย

Mission : พันธกิจ การผลิต พัฒนาองค์ความรู้ และ นวัตกรรม (Innovation and Technical Development) เพื่อการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีคุณภาพและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนไทย การถ่ายทอดองค์ความรู้ และเทคโนโลยีด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้กับเครือข่าย (Transfer technology and Facilitation) รวมไปถึงการผลักดันและสนับสนุนให้เครือข่ายส่งเสริมสุขภาพให้เป็นไปตามมาตรฐานและกฎหมาย เพื่อให้ประชาชนได้รับการส่งเสริมสุขภาพที่ดีและมีคุณภาพ การพัฒนา ผลักดัน และสนับสนุนให้เกิดนโยบาย และ กฎหมาย ที่จำเป็น (Policy and Regulation Advocacy) ในด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เข้มแข็ง (System Capacity Building) ซึ่งครอบคลุมทั้งระบบการเฝ้าระวัง การกำกับ ติดตาม และประเมินผล เพื่อนำมาสู่การพัฒนานโยบายกฎหมาย และ ระบบอย่างต่อเนื่องและมีคุณภาพ 

วัฒนธรรม/ค่านิยม กรมอนามัย (เป็นอันหนึ่งอันเดียว) วิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ โครงสร้าง เทคโนโลยี ระบบงาน H E A T L ทุนทรัพยากรบุคคล วัฒนธรรม/ค่านิยม กรมอนามัย Core Competencies CCP คำขยาย คำอธิบาย H Health Model (เป็นต้นแบบสุขภาพ) การดูแลรักษาสุขภาพตนเอง เพื่อเป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่น E Ethic (มีจริยธรรม) มีจรรยาบรรณ ซื่อสัตย์ และโปร่งใสในการทั้งต่อตนเองและผู้อื่น A Achievement (มุ่งผลสัมฤทธิ์) มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมาย และตอบสนองความต้องการของลูกค้าและผู้ที่เกี่ยวข้อง L Learning (เรียนรู้ร่วมกัน) มุ่งเน้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนางานร่วมกัน T Trust (เคารพและเชื่อมั่น) มีความเคารพในสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น Harmony (เป็นอันหนึ่งอันเดียว) มุ่งเน้นการทำงานเป็นทีม และยอมรับผลสำเร็จของทีมงานร่วมกัน กพร. กรมอนามัย

การวิเคราะห์วัฒนธรรมกรมอนามัยโดยอิงพันธกิจ CCP คำขยาย Policy and Regulation Advocacy Innovation and Technical Development Facilitator System Capacity Building H Health Model (เป็นต้นแบบสุขภาพ)  E Ethic (มีจริยธรรม) A Achievement (มุ่งผลสัมฤทธิ์) L Learning (เรียนรู้ร่วมกัน) T Trust (เคารพและเชื่อมั่น) Harmony (เป็นอันหนึ่งอันเดียว)

1 H E A L T H กรมอนามัยจะยังคง Vision/Mission /Share value เดิม ? วิสัยทัศน์ “เป็น องค์กรหลักในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ของประเทศ เพื่อส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี” พันธกิจ 1) ผลิต พัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรม (Innovation and Technical Development) ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนไทย 2) ถ่ายทอดและผลักดัน/สนับสนุน(Facilitator) ให้เครือข่ายสามารถจัดการ สวล.&ส่งเสริมสุขภาพได้ ตามหลักวิชาการมาตรฐานและกฎหมาย 3) พัฒนา ผลักดัน และสนับสนุนให้เกิดนโยบาย และ กฎหมายที่จำเป็น (Policy and Regulation Advocacy) 4) พัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เข้มแข็ง (System Capacity Building) วัฒนธรรม/ค่านิยมองค์กร H E A L T H กพร. กรมอนามัย

เป้าหมายการพัฒนาระบบราชการ ของกรมอนามัย ?? 2 ปี 2552 กรมอนามัยจะเสนอเข้ารับรางวัล ประเภท 1 หรือ 2 เกณฑ์รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA) ประเภทที่ 1 รางวัล“คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ” (650 คะแนน) ประเภทที่ 2 รางวัล “ความมุ่งมั่นสู่ความเป็นเลิศ” (350 คะแนน) ประเภทที่ 3 รางวัล “ความใส่ใจพัฒนาคุณภาพด้าน...” (80%ของคะแนนเต็มแต่ละหมวด)

ผลการประเมินของ Assessor (แบบฝึกหัด) ของกรมอนามัย เกณฑ์ประ เมินหมวดที่ คะแนนเต็ม (1,000) คะแนน ปัจจุบัน (200= 20%) เป้าหมายปี 51 (350 คะแนน = 35%) เป้าหมายปี 52 (650 = 65%) ให้ทำเพิ่ม 15% (คะแนน) เป้าหมาย ไม่น้อยกว่า 35% ถ้าต่ำกว่าปรับให้เป็น 35% (คะแนน) ให้ทำเพิ่ม30% (คะแนน) ไม่น้อยกว่า 65% ถ้าต่ำกว่าให้เป็น 65% (คะแนน) 1 70+50 = 120 30 = 25% 18 48 36 84 2 40+40 = 80 16 = 20% 12 28 24 52 3 50+60 = 110 22 = 20% 16.5 38.5 33 71.5 4 32 = 40% 8 (10%) 40 64 5 40+30+30 =100 16 = 16% 15 35 (31) 30 65 6 70+40 = 110 44 = 40% 11 (10%) 55 88 7 100+100+100+100 = 400 40 = 10% 60 140 (100) 120 260 รวม 1,000 200 184.5 384.5 300 684.5

แผนที่ยุทธศาสตร์ ที่สอดคล้องกับ ตัวชี้วัด กพร แผนที่ยุทธศาสตร์ ที่สอดคล้องกับ ตัวชี้วัด กพร.และ ระบบ PMQA จะทำอย่างไร ?? 3

เป้าหมายการพัฒนาระบบราชการปี 2552 สำหรับกรมทั่วไป มิติ : ประสิทธิผล(45%) มิติ : ประสิทธิภาพ(20%) การบรรลุเป้าหมายระดับกระทรวง 20 บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ (13) บรรลุเป้าหมายร่วมระหว่างกระทรวง (5) ความสำเร็จเรื่องศูนย์บริการร่วม (2) 8) ร้อยละการเบิกจ่ายงบลงทุน 4 9) ระบบการตรวจสอบภายใน 3 10) ระบบต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 3 2) การบรรลุเป้าหมายระดับกลุ่มภารกิจ 10 11) การประหยัดพลังงาน 3 3) การบรรลุเป้าหมายระดับ กรม 15 บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์กรม (10) บรรลุผลผลิตตามเอกสารงบฯ (5) 12) รักษาStd.ระยะเวลาให้บริการ 4 13) ดำเนินการตามแผนพัฒนา กม. 3 ตัวชี่วัด ก.พ.ร.ปี52 4) ร้อยละของระดับความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ) 5 14) ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 20 5) ความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ ปชช.มีส่วนร่วม 4 6) การป้องกันปราบปรามทุจริต 3 7) การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารราชการ 3 มิติ : พัฒนาองค์กร(20%) มิติ : คุณภาพบริการ(15%) กพร. กรมอนามัย

ภายนอก ภายใน กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหมวด 7 PMQA ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2552 Financial Perspective ประสิทธิผล (ผลลัพธ์) A+30% กระทรวง กลุ่มภารกิจและกรมสามารถปฏิบัติราชการได้บรรลุตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ กระทรวงดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการ ที่มีเป้าหมายร่วมกันระหว่างกระทรวง ภายนอก Customer Perspective คุณภาพการให้บริการ B% ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความ พึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนราชการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความ ไม่พึงพอใจต่อการให้บริการของ ส่วนราชการลดลง Internal Work Process Perspective ประสิทธิภาพ C+7% การเบิกจ่าย งบลงทุนที่มี ประสิทธิภาพ การใช้ พลังงานมี ประสิทธิภาพ บุคลากรเข้าร่วม กิจกรรมสนับสนุน ชุมชนที่สำคัญ กระบวนงานสร้างคุณค่า และ กระบวนงานสนับสนุน ที่ได้ดำเนินการ ตามมาตรฐาน SOP ภายใน Learning and Growth Perspective การพัฒนาองค์กร 20% บุคลากรได้รับ การพัฒนาขีดสมรรถนะ ตามแผนพัฒนาบุคลากร ระบบฐานข้อมูลสนับสนุน ยุทธศาสตร์ ที่ครอบคลุม ถูกต้องและทันสมัย ระบบการกำกับ ดูแลองค์กรที่ดี Strategy Map /Balanced Scorecard หมายเหตุ : ตัวชี้วัด Tailor madeโดยการเจรจา ข้อตกลง หรือ Top Down จากกระทรวง : ตัวชี้วัด ภาคบังคับ 17 กพร. กรมอนามัย

กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ในสังกัดกระทรวงนำร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 Financial Perspective ประสิทธิผล (ผลลัพธ์) A+30% กระทรวง กลุ่มภารกิจและกรมสามารถปฏิบัติราชการได้บรรลุตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ กระทรวงดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการ ที่มีเป้าหมายร่วมกันระหว่างกระทรวง ภายนอก Customer Perspective คุณภาพการให้บริการ B% ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความ พึงพอใจ/ไม่พึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนราชการ Internal Work Process Perspective ประสิทธิภาพ C+7% การบริหารงบที่มีประสิทธิภาพ กระบวนงานสร้างคุณค่า และกระบวนงานสนับ สนุน ได้ดำเนินการตามมาตรฐาน SOP บุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมสนับสนุนชุม ชนที่สำคัญ การ ประหยัด พลังงาน การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร การแก้ไขกฎ หมาย ภายใน การเบิกจ่าย งบลงทุน ระบบต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต Learning and Growth Perspective การพัฒนาองค์กร 20% บุคลากรได้รับ การพัฒนาขีดสมรรถนะ ตามแผนพัฒนาบุคลากร ระบบฐานข้อมูลสนับสนุน ยุทธศาสตร์ ที่ครอบคลุม ถูกต้องและทันสมัย ระบบการกำกับดูแลองค์กรที่ดี การป้องกันทุจริต การตรวจสอบภายใน Strategy Map /Balanced Scorecard หมายเหตุ : ตัวชี้วัด Tailor madeโดยการเจรจา ข้อตกลง หรือ Top Down จากกระทรวง : ตัวชี้วัด ภาคบังคับ : ตัวชี้วัดระบบงานกลาง : ตัวชี้วัดร่วมที่รองรับยุทธศาสตร์ 18

แผนที่ยุทธศาสตร์กรมอนามัย วิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรหลักในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ เพื่อส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 องค์กรมีการบริหาร จัดการที่ดี PMQA score (75% ของคะแนนเต็ม) ประสิทธิผล ตามพันธกิจ ผู้รับบริการและภาคีเครือข่ายมีความพึงพอใจในสินค้าและบริการ หน่วยงานในสังกัดพึงพอใจการใช้ PMQA ในการบริหารจัดการองค์กร การให้บริการ คุณภาพ การบริหารทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ ระบบการสร้างความสัมพันธ์ภาคีเครือข่าย การปรับปรุงกฎหมาย ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ การเบิกจ่ายงบลงทุน การประหยัดพลังงาน .............................. บุคลากรเข้า ร่วมกิจกรรม สนับสนุนชุมชน ที่สำคัญ กระบวนงานสร้าง คุณค่าและกระบวนงาน สนับสนุน ดำเนินการ ตามมาตรฐาน SOP บุคลากรได้รับ การพัฒนาขีด สมรรถนะรองรับ ยุทธศาสตร์ ระบบฐานข้อมูล สนับสนุนยุทธศาสตร์ ที่ครอบคลุม ถูกต้องและทันสมัย ระบบการกำกับดูแลองค์กรที่ดี PMQA การพัฒนา องค์กร การตรวจสอบภายใน การป้องกันทุจริต (เปิดเผยข้อมูล)

แผนที่ยุทธศาสตร์ กรมอนามัย Vision : องค์กรหลักในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ เพื่อส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี ประชาชนมีพฤติกรรมเหมาะสมตามกลุ่มวัยและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี 15 ตุลาคม 2551 พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ประสิทธิผล ของการปฏิบัติ ราชการ ลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ส่งเสริมการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ คุณภาพการ ให้บริการ ภาคีเครือข่ายภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และประชาชนมีนโยบาย โครงการ กิจกรรม ที่เป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริม สุขภาพและอนามัยสิ่งแวด ล้อม ทั้งทางตรงและทางอ้อม ประชาชนมีพฤติกรรม สุขภาพที่ดี พึ่งตนเอง ดูแลตนเอง ได้อย่าง เหมาะสม บุคลากรสาธารณสุขมี ความรู้ความสามารถ ในการบูรณาการวิชาการ และมาตรการทางสังคม เพื่อการส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม พัฒนากระบวนการกำหนด นโยบายสาธารณะและกฎหมาย กฎระเบียบที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี -สร้างปรับปรุงนโยบายสาธารณะ -ส่งเสริมการบังคับใช้ -จัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน สร้างความตระหนักรู้แก่ภาคีเครือขาย และประชาชนเพือการปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน์และพฤติกรรม -สร้างค่านิยม “สร้างนำซ่อม” -ส่งเสริมบทบาทสื่อระดับต่าง ๆ -เชื่อมโยงการสื่อสารที่ครอบคลุม R สร้างภาคีเครือข่ายและ พันธมิตร -การใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ -เสริมสร้างบทบาทภาคีเครือข่าย ประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติ ราชการ P A การพัฒนาองค์กร พัฒนาบุคลากรให้เกิด หลักคิดมีความรู้ ความ สามารถ ทักษะ และความ พึงพอใจในการปฏิบัติงาน -แผนพัฒนาบุคลากร B มีและใช้ข้อมูลสารสนเทศ ที่ถูกต้อง ครบถ้วน ทัน สมัย และปลอดภัย -การเฝ้าระวัง -การติดตามประเมินผล -แผนพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศ มีการบริหารจัดการที่ดี -การลงทุนเพื่อการพัฒนา โครงสร้างและระบบ รายงาน -การพัฒนาคุณภาพการ บริหาร จัดการภาครัฐ I เสริมสร้างพัฒนาและ ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม -วิจัยและพัฒนา -การจัดการความรู้

แผนที่ยุทธศาสตร์กรมอนามัย วิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรหลักในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ เพื่อส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารจัดการองค์กร ที่ดี ภาคีเครือข่ายเข้มแข็ง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการส่งเสริมสุขภาพประชาชน 1.พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก 2.สุขภาพผู้สูงอายุ 3.ลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น 4.แก้ปัญหาโรคอ้วนคนไทย 5.ส่งเสริม HIA 6.พัฒนาชุมชนน่าอยู่เมืองน่าอยู่ ภาคีเครือข่ายร่วมดำเนินการสร้างพฤติกรรม ส่งเสริมสุขภาพและอนามัย สวล.ให้กับประชาชน PMQA score (75% ของคะแนนเต็ม) ประสิทธิผล ตามพันธกิจ ผู้รับบริการและภาคีเครือข่ายมีความพึงพอใจในสินค้าและบริการ บุคลากร สธ. มีความสามารถในการบูรณาการวิชาการและมาตรการทางสังคมไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย หน่วยงานในสังกัดพึงพอใจการใช้ PMQA ในการบริหารจัดการองค์กร การให้บริการ คุณภาพ การบริหารทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ ระบบการ เฝ้าระวังและติดตามประเมินผล ระบบการสร้างความสัมพันธ์ภาคีเครือข่าย ระบบการพัฒนามาตรฐานวิชาการ /กม.และนโยบายสาธารณะ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ระบบการสื่อสารข้อมูล การเบิกจ่ายงบลงทุน ระบบต้นทุนต่อหน่วยฯ การประหยัดพลังงาน บุคลากรเข้า ร่วมกิจกรรม สนับสนุนชุมชน ที่สำคัญ กระบวนงานสร้าง คุณค่าและกระบวนงาน สนับสนุน ดำเนินการ ตามมาตรฐาน SOP บุคลากรได้รับ การพัฒนาขีด สมรรถนะรองรับ ยุทธศาสตร์ ระบบฐานข้อมูล สนับสนุนยุทธศาสตร์ ที่ครอบคลุม ถูกต้องและทันสมัย ระบบการกำกับดูแลองค์กรที่ดี PMQA การพัฒนา องค์กร การตรวจสอบภายใน การป้องกันทุจริต (เปิดเผยข้อมูล)

คณะกรรมการ กพร. กรมอนามัย CCO/ผู้บริหารหน่วยเจ้าภาพ (กพร.เป็นเลขาฯ) 4 ข้อเสนอกลไกการพัฒนาระบบ PMQA ปี 2552 ปรับกลไกคณะกรรมการ PMQA ให้มีความเป็นเอกภาพในการขับเคลื่อน และมีการเชื่อมโยงทุกหมวดเข้าเป็นกระบวนการเดียวกัน แยกโครงการเฉพาะเท่าที่จำเป็น ปรับบทบาทของทีม Fast Track ให้เป็น Facilitator ให้กับหน่วยงานเจ้าภาพ หรือ Process Owner ในทุกเรื่อง การประชุมกรมฯ คณะกรรมการ กพร. กรมอนามัย คำรับรอง พัฒนาPMQA คณะกรรมการอำนวยการ CCO/ผู้บริหารหน่วยเจ้าภาพ (กพร.เป็นเลขาฯ) มีวาระเสนอทุกเดือน กองแผนงาน หน่วยงานเจ้าภาพ หน่วยงานเจ้าภาพ/ Process Owner คณะ Fast Track (10-15 คน) Facilitator คกก.จัดทำแผน กลยุทธ์ หน่วยงานย่อย คณะ กก. (ตามจำเป็น) หน่วยงานย่อย คณะ กก. PMQA หมวด 1 2 3 4.1 6 4.2 5 7 กพร. กรมอนามัย

จะทบทวนตามความเหมาะสม คณะกรรมการหมวด 1-7 & ทีม FT คณะกรรมการอำนวยการ ประกอบด้วย - CCO เป็นประธาน - ที่ปรึกษากรมอนามัย จำนวน 4 ท่าน - ผอ.หน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ (สส./สว./กอง ภ./ กอง สช./กอง อพ./....) และ หน่วยงานเจ้าภาพระบบ (กอง ผ./กอง จ./กอง ค./สลก./ กตส.) กพร. เป็นเลขาฯ บทบาทหน้าที่ กำหนดนโยบาย แนวทางการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัยตามเกณฑ์ PMQA และตัวชี้วัด ส.กพร. กำหนดระบบงานและมอบหมายหน่วยงาน คณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง ติดตามกำกับ ประเมินผลตามเกณฑ์ PMQA และตัวชี้วัด ส.กพร. และ แก้ไขปัญหาอุปสรรคในการดำเนินการของหน่วยงานกลางและหน่วยงานย่อย จะทบทวนตามความเหมาะสม คณะกรรมการหมวด 1-7 & ทีม FT กพร. กรมอนามัย

การกำหนดหน่วยงานเจ้าภาพ สำนัก ว. (กอง สอ./ศกม./ศูนย์lab) 5 ประเด็นยุทธศาตร์ หน่วยงานเจ้าภาพ 1 การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก สำนัก ส. (กอง อพ./ท./ภ.) 2 การลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น กอง อพ. (กอง ท./สำนัก ส.) 3 การแก้ไขปัญหาโรคอ้วนในคนไทย กอง ภ./กอง อ. 4 การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สำนัก ส./กอง ท. (กอง ภ./อ.) 5 การพัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ สำนัก ว. (กอง สอ./ศกม./ศูนย์lab) 6 ส่งเสริมการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กอง สช. (ศกม.)

การกำหนดหน่วยงานเจ้าภาพ 5 หมวด ระบบงานบริหารงาน (กรม) หน่วยงานเจ้าภาพ 1 กพร. สลก.(การสื่อสาร) 2 กองแผนงาน กตส.(เรื่อง RM) 3 สลก.ร่วมกับ กพร. 4 สนง.สนับสนุน KM 5 กองการเจ้าหน้าที่ กพร.(ระบบ/โครงสร้าง) 6 สำนัก ส./สำนัก ว. และ กองคลัง ระบบการกำกับดูแลองค์การที่ดี 1 การสื่อสารสู่บุคลากร 2 3 ระบบแผนงาน และถ่ายทอด ระบบ RM 12 ระบบการเรียนรู้ความต้องการของ C/SH 4 ระบบคณะ กก.ที่ปรึกษาภาค ปชช. 5 ระบบ ฐานข้อมูล 6 ระบบ KM 7 ระบบสร้างความพึงพอใจ/ความผาสุก ระบบงานรองรับยุทธศาสตร์ 8 ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล (HRM) 10 9 11 ระบบการพัฒนากบง.สร้างคุณค่า/สนับสนุน

กระบวนการจัดทำคำรับรอง 6 กระบวนการจัดทำคำรับรอง กพร. กรมอนามัย ระดับกระทรวง ระดับกรม 1. กระทรวงฯจัดส่งแผนที่ยุทธศาสตร์ให้ ส.กพร. 2. ส.กพร.วิเคราะห์แผน ยุทธศาสตร์กระทรวง 3.ส.หพร.เจรจา KPIs กับกระทรวง/กลุ่มภารกิจ 4.จัดทำคำรับรองระดับกระทรวง/กลุ่มภารกิจ 1. กรมจัดทำแผนที่ยุทธฯ(SM)ให้ กระทรวง 2. กระทรวงแต่งตั้งคณะ กรรมการ 3 ชุด 3. คณะที่ 3 กำหนดกรอบการประเมินเบื้องต้น 4. กรมจัดทำคำรับรอง (4 มิติ) เสนอคณะที่ 3 5.คณะที่ 2 เจรจากับกรม 6. กรมจัดทำคำรับรอง 7. กรมโดยหน่วยเจ้าภาพ KPIs จัดทำรายละเอียด พร้อม Template 8. กรมรายงานผลรอบ 6,9 และ 12 เดือน ระดับหน่วยงาน 1. กรมชี้แจงกรอบคำรับรอง / SM กรม 2. หน่วยงานจัดทำ SM รองรับเป้าหมายกรม 3. หน่วยงานจัดทำคำรับรอง (4มิติ)เสนอ 4. หน่วยงานเจรจาตกลงกับกรม 5. จัดพิธีลงนามคำรับรอง 6. หน่วยงานจัดทำราย ละเอียดการประเมิน KPIs ส่งกองแผน 7.หน่วยงานรายงานผลรอบ 6,9 และ 12 เดือน พิธีลงนามคำรับรอง(ธค.51) ถ่ายทอดเป้าหมายสู่ระดับกรม

Road Map 6 กพร. กรมอนามัย กรอบการประเมินการปฏิบัติราชการของกระทรวง สธ. 1.จัดประชุมผู้บริหาร เพื่อ - ทบทวนวิสัยทัศน์/ค่านิยม - กำหนดเป้าหมายยุทธศาสตร์ - กำหนดแผนการพัฒนาองค์กร 3.คณะจัดทำแผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย (SLM ของ อ.อมรฯ) จัดทำ St.Map / SLM ของกรม ถ่ายทอดเป็น St.Map/SLMของ หน่วยงาน วางระบบงานรองรับ การวิเคราะห์ กบง.สร้างคุณค่า การจัดทำระบบข้อมูลรองรับ การวางแผนพัฒนาบุคคลรองรับ การวางระบบติดตามกำกับ(M&E) 2.แต่งตั้งคณะกรรมการ อำนวยการ PMQA กรมอนามัย 3.จัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์(SM)กรม จัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาองค์กร กรมอนามัย (ภาพรวม) จัดทำนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี สนับสนุน/บูรณาการ 4.ประชุมชี้แจงเกณฑ์KPI(ปี52) แผนพัฒนาองค์กรตามPMQA กำหนดหลักเกณฑ์การประเมิน พิธี ลงนาม 5.จัดคำรับรองการปฏิบัติราชการรายหน่วยงาน กรอบการประเมินการปฏิบัติราชการของกระทรวง สธ. งาน ยุทธศาสตร์ งานประจำตามพันธกิจ งานที่ได้รับมอบหมาย กพร. กรมอนามัย

สวัสดี กพร. กรมอนามัย