และประเมินผลคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
“ การพัฒนาระบบการวัดและ ประเมินผล เพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ” การอบรมเชิงปฏิบัติการ.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การประกัน คุณภาพการศึกษา.. พิชญ์มณฑน์ ลีกำเนิด ไทย.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
มาตรฐานที่ ๓ ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
เรื่องแจ้งในการประชุม ผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มนิเทศติดตาม และประเมินผล การจัดการศึกษา สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ลพบุรีเขต 1 สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ผลการประเมินระดับชาติและ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การประเมินการอ่านออกเขียนได้ ชั้น ป.1 ปีการศึกษา 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
การบริหารจัดการเวลาเรียน ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ครูและนักเรียน
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
การพัฒนาระบบการประเมิน และการประกันคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
นโยบายด้านการทดสอบและมาตรฐานด้าน การประเมิน
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

และประเมินผลคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2560 นโยบายด้านการทดสอบ และประเมินผลคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2560 ดร.วิษณุ ทรัพย์สมบัติ ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

การประกันคุณภาพการศึกษา การจัดทำทะเบียนและสารสนเทศ ภารกิจ สทศ.สพฐ. การพัฒนาเครื่องมือที่ได้มาตรฐาน การประเมินคุณภาพผู้เรียน การวัดระดับความสามารถด้านภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ การสร้างความเข้มแข็งด้านการประเมินแก่เขตพื้นที่และสถานศึกษา การทดสอบ การประเมินผล การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน การส่งเสริมและสร้างความเข้มแข็งด้านการประกันคุณภาพให้กับสถานศึกษา การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานประเมินคุณภาพภายนอก การคัดเลือกนักเรียนและสถานศึกษาเพื่อรับรางวัลพระราชทาน การประกันคุณภาพการศึกษา การพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลและทะเบียนผู้จบการศึกษา การให้บริการตรวจสอบวุฒิ รับรองวุฒิ ออกเอกสารสำคัญทางการศึกษา การให้บริการเทียบวุฒิการศึกษา และการเทียบโอนผลการเรียน การศึกษาแนวโน้มการจัดการศึกษาของต่างประเทศเพื่อวางแผนการเทียบวุฒิการศึกษา และการเทียบโอนผลการเรียน การจัดทำทะเบียนและสารสนเทศ

งานนโยบายที่สำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ (ด้านการทดสอบ) ปรับระบบการสอบ NT/O-NET ให้เป็นที่ยอมรับและสะท้อน ถึงคุณภาพของการจัดการศึกษา ภายในปี ๒๕๖๐ - ทำให้ข้อสอบ O-Net สอดคล้องกับการเรียนการสอน - จัดทำ Test Blue Print - ให้มีการจัดทำ Item Card - ให้ความสำคัญกับกระบวนการคัดเลือกคนออกข้อสอบและผู้ตรวจข้อสอบ - เฉลยข้อสอบ - วิเคราะห์ผล O-Net เพื่อนำไปปรับปรุงคุณภาพการจัดการเรียนการสอน

การทดสอบ ประเมินผล และประกันคุณภาพ ภารกิจตามนโยบาย Mission Policy & Agenda Bureau การทดสอบ ประเมินผล และประกันคุณภาพ สทศ. (..) สวก. (..) การพัฒนาระบบการประเมินคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน การพัฒนาเครื่องมือวัดผล/ประเมินผลในชั้นเรียน (Formative/Summative Assessment) การพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลตามแนว PISA การสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการทดสอบกับ สทศ. สสวท. การพัฒนาระบบ การประกันคุณภาพภายใน การวิเคราะห์และพัฒนาคลังข้อสอบเพื่อให้บริการ การเทียบวุฒิการศึกษา

ข้อเสนอเพื่อปรับระบบการทดสอบและประเมินคุณภาพผู้เรียน School Assessment Local Assessment National Assessment ลดการประเมินให้น้อยลง ปรับปรุงหลักสูตร/มาตรฐานและตัวชี้วัด (ต้องรู้ ควรรู้) แจ้งโครงสร้างข้อสอบ (มาตรฐานและตัวชี้วัด ลักษณะข้อสอบ ตัวอย่างข้อสอบ) ล่วงหน้าก่อนสอบ พัฒนาแบบทดสอบที่ได้มาตรฐาน (วิเคราะห์คุณภาพข้อสอบ) ใช้ข้อสอบอัตนัยในการประเมินระดับชาติ ให้มีการเฉลยข้อสอบ จัดหาเครื่องมือประเภทอัตนัยให้กับสถานศึกษา พัฒนาคลังข้อสอบร่วมกันระหว่างสถาบันทดสอบฯ กับกระทรวงฯ พัฒนาครูและผู้เกี่ยวข้องด้านการทดสอบและการประเมินฯ

การทดสอบและประเมินคุณภาพผู้เรียน การประเมินคุณภาพผู้เรียน/คนทั่วไป งานนโยบาย การทดสอบและประเมินคุณภาพผู้เรียน ข้อสอบกลาง ข้อสอบ NT ข้อสอบ การอ่าน ข้อสอบ Pre O-NET ข้อสอบ วัดระดับฯ การประเมินคุณภาพผู้เรียน/คนทั่วไป คลังข้อสอบออนไลน์

มาตรฐานการทดสอบ มาตรฐานด้านการบริหารการทดสอบ 1 2 3 4 5 มาตรฐานด้านผู้สร้างข้อสอบ 2 มาตรฐานด้านการพัฒนาแบบทดสอบ 3 มาตรฐานด้านการบริหารการทดสอบ 4 มาตรฐานด้านการพิมพ์ข้อสอบ และการตรวจให้คะแนน 5 มาตรฐานการรายงานผลการทดสอบ และการนำผลไปใช้

มาตรฐานด้านการพัฒนาแบบทดสอบ การวิเคราะห์หลักสูตร จัดทำ Test Blueprint เขียนข้อสอบ หาคุณภาพก่อนใช้ ทดลองใช้ วิเคราะห์ผล Item & Test Analysis จัดฉบับ/คัดเลือกข้อสอบเข้าคลังข้อสอบ Empirical Review Logical Review 8

แนวทางการยกระดับผล NT และ O-NET ด้วยการพัฒนาระบบการวัดและประเมินคุณภาพผู้เรียน พัฒนาระบบการทดสอบและประเมินผลในชั้นเรียน จัดกลุ่มคุณภาพโรงเรียนตามผลการประเมิน วางระบบการพัฒนา และการสนับสนุนส่งเสริมด้านการวัดและประเมินผล

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนต่ำ แนวทางที่ 1 การวิเคราะห์ผล O-NET เพื่อนำผลไปใช้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนต่ำ กลุ่มสาระการเรียนรู้/สาระ/ มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่า ร้อยละ 50 และ/หรือ ต่ำกว่าระดับประเทศ/สังกัด/จังหวัด/เขตพื้นที่/ ขนาดโรงเรียนเดียวกัน การวิเคราะห์ผลการทดสอบ O-NET ปีที่ผ่านมาเทียบกับเกณฑ์เพื่อนำมากำหนดเป้าหมายในการพัฒนา การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อคะแนน O-NET

เตรียมความพร้อมการสอบ O-NETกับครูผู้สอนและผู้บริหารทุกคน ผังการออกข้อสอบ (Test Blueprint) รูปแบบข้อสอบ (Item Form) ตัวอย่างข้อสอบแต่ละรูปแบบ ตัวอย่างกระดาษคำตอบและเกณฑ์การให้คะแนน ก่อนการสอบ O-NET สทศ.ได้นำตัวอย่างกระดาษคำตอบรูปแบบข้อสอบ และเนื้อหาการสอบ O-NET เผยแพร่บนเว็บไซต์ สทศ. (www.niets.or.th) เพื่อให้โรงเรียน ครู อาจารย์ และนักเรียน ได้เตรียมความพร้อมล่วงหน้าก่อนสอบ

แนวทางที่ 3 พัฒนาระบบการทดสอบและประเมินผลในชั้นเรียน (Classroom Assessment) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน O (objective) มาตรฐานการเรียนรู้ L (Learning) การจัดการเรียนรู้ อิงมาตรฐาน E (Evaluation) การประเมิน อิงมาตรฐานการเรียนรู้ สอดคล้อง องค์ประกอบสำคัญของการจัดการเรียนรู้

แนวทางที่ 4 จัดกลุ่มคุณภาพโรงเรียนตามผลการประเมิน 1. จัดกลุ่มสถานศึกษาจากผลการทดสอบ O-NET ออกเป็นกลุ่มคุณภาพ 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มดีมาก กลุ่มดี กลุ่มพอใช้ และกลุ่มปรับปรุง เพื่อวางแผนในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดังต่อไปนี้ พอใช้ เพิ่มหัว หดหาง

1.1 วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ที่ต้อง ปรับปรุงเร่งด่วนของแต่ละสถานศึกษาแต่ละแห่ง - ค้นหาสถานศึกษาที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย - เนื้อหาสาระการเรียนรู้ที่ต้องแก้ไข 1.2 วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ (พิจารณาจากสภาพบริบทต่างๆของสถานศึกษา) ของแต่ละสถานศึกษา เน้นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเป็นหลัก - แหล่งสาเหตุของปัญหา - ปัญหา/อุปสรรค - จุดแข็ง/โอกาส - แนวทางการแก้ปัญหา

1.3 กำหนดกลยุทธ์และแผนยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนของ แต่ละเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา ที่สอดคล้องสาเหตุของสภาพ ปัญหา ปัญหา ร.ร.1 แนวทาง แก้ไขปัญหา ปัญหา ร.ร.2 บุคลากร ปัญหา ร.ร.3 กลยุทธ์ งบประมาณ ปัญหา ร.ร.4 การบริหารจัดการ แนวทาง แก้ไขปัญหา ปัญหา ร.ร…. สื่ออุปกรณ์ แนวทาง แก้ไขปัญหา ปัญหา ร.ร….

แนวทางที่ 5 วางระบบการพัฒนา และการสนับสนุนส่งเสริม ด้านการวัดและประเมินผล 1. สพฐ. ร่วมกับเขตพื้นที่การศึกษาดำเนินการโครงการที่ ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาคุณภาพการศึกษาสถานศึกษา ตามจุดเน้นที่กำหนดไว้ รวมทั้งสนับสนุนงบประมาณให้แก่ เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในการยกระดับคุณภาพ ด้านการวัดและประเมินผล 2. สอบ Pre O-NET นักเรียนในระดับชั้นที่ทำการทดสอบ O-NETเพื่อเป็นสร้างความคุ้นเคยเกี่ยวกับข้อสอบให้แก่ผู้เรียน รวมทั้งนำผลการทดสอบ Pre O-NET มาจัดทำแผนพัฒนา ผู้เรียนเป็นรายบุคคลอย่างเร่งด่วน เพื่อให้ผู้เรียนมีศักยภาพ เพียงพอที่จะทำการทดสอบ

3. พัฒนาคุณภาพในลักษณะของ “สถานศึกษาคู่พัฒนา” 3.1 จับคู่สถานศึกษาในกลุ่มดีมากกับกลุ่มต้องปรับปรุงที่มีสภาพบริบทและสถานที่ตั้งอยู่ใกล้เคียงกันเป็น “สถานศึกษาคู่พัฒนา” โดยสถานศึกษาในกลุ่มดีมากจะคอยเป็นพี่เลี้ยงชี้แนะ (Coaching) ถ่ายทอดประสบการณ์ในการยกระดับคุณภาพของตนเองให้แก่กลุ่มต้องปรับปรุง 3.2 สถานศึกษาที่อยู่กลุ่มปรับปรุง กำหนดแผนงานในการยกระดับคุณภาพการศึกษาด้วยวิธีการที่หลากหลายภายใต้การชี้แนะของสถานศึกษาที่เป็นคู่พัฒนา เช่น การวิเคราะห์มาตรฐานและสาระการเรียนรู้ที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วน การจัดค่ายอบรมวิชาการ การสอนเสริมภายในโรงเรียน การจัดทีมพี่เลี้ยงคอยช่วยเหลือสถานศึกษา (Roving Team) เป็นต้น

สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประเด็นที่ควรรับรู้เกี่ยวกับการทดสอบ และการประเมินผลปีการศึกษา 2560 นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ประเด็นที่ควรรับรู้ : การทดสอบและการประเมินผลปีการศึกษา 2560 การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test: NT) การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) การประเมินความสามารถด้านการอ่าน ชั้น ป.1

การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560 : การสอบ NT จุดประสงค์การทดสอบ NT เป็นการทดสอบความสามารถพื้นฐานที่สะท้อนถึงคุณภาพของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ผู้ดำเนินการจัดสอบ คือ สทศ.สพฐ. ขอบเขตการทดสอบ คือ ความสามารถพื้นฐานสำคัญของนักเรียนชั้น ป.3 ใน 3 ด้าน คือ ความสามารถด้านภาษา (Literacy) ด้านคำนวณ (Numeracy) และด้านเหตุผล (Reasoning Ability) เป้าหมาย คือ นักเรียนชั้น ป.3 ทุกสังกัด ยกเว้นสถานศึกษาในสังกัดสำนักการบริหารการศึกษาเอกชนบางแห่ง ที่ให้ขึ้นอยู่กับสภาพความพร้อมและความสมัครใจ

การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560 : การสอบ NT รูปแบบของข้อสอบ NT ข้อสอบแบบเลือกตอบ จำนวน 27 ข้อ ข้อสอบแบบเขียนตอบสั้น จำนวน 2 ข้อ และแบบเขียนตอบอิสระ จำนวน 1 ข้อ โครงสร้างข้อสอบ ศึกษาได้ที่ http://bet.obec.go.th การดำเนินงานของ สพฐ. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่เขตพื้นที่การศึกษา (ศูนย์สอบ) จัดสรรงบประมาณในการดำเนินงานให้แก่ศูนย์สอบ จัดพิมพ์ข้อสอบและกระดาษคำตอบ รับส่งข้อสอบไปยังศูนย์สอบทั่วประเทศ ตรวจเยี่ยมสนามสอบ ประมวลผล ประกาศผลสอบผ่านระบบ NT Access และรายงานผลการทดสอบต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องNT

การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560 : การสอบ NT การดำเนินงานของเขตพื้นที่การศึกษา แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการระดับศูนย์สอบ ร่วมประชุมวางแผนในการบริหารจัดการสอบระดับศูนย์สอบ ตรวจสอบข้อมูลนักเรียนที่เข้าสอบของสถานศึกษาในศูนย์สอบผ่านระบบ NT Access จัดสนามสอบและประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่กรรมการสนามสอบ ดำเนินการจัดสอบและตรวจเยี่ยมสนามสอบ รายงานผลการทดสอบต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง การดำเนินงานของสถานศึกษา กรอกข้อมูลนักเรียนที่เข้าสอบผ่านระบบ NT Access ตรวจสอบและยืนยันข้อมูลนักเรียนที่เข้าสอบของสถานศึกษาผ่านระบบ NT Access ดำเนินการจัดสอบให้เป็นมาตรฐาน

การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560 : การสอบ NT ระยะเวลาดำเนินงานสอบ NT ประชุมชี้แจงเขตพื้นที่ฯ กลางเดือนพฤศจิกายน 2560 วันสอบ คือ วันที่ 7 มีนาคม 2561 วันประกาศผลสอบ คือ วันที่ 30 เมษายน 2561 แหล่งสืบค้นข้อมูลการสอบ NT กลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา สทศ. สพฐ. เบอร์โทรศัพท์ 02 288 5783 เว็บไซต์สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. http://bet.obec.go.th

การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560 : การสอบ O-NET การสอบ O-NET (Ordinary National Educational Testing) เป็นการตรวจสอบคุณภาพของผู้เรียนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หน่วยงานจัดสอบ คือ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) จำนวนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ทดสอบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 4 กลุ่ม คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 5 กลุ่ม คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และภาษาต่างประเทศ หน่วยงานที่ออกข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ คือ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ (สสวท.)

การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560 : การสอบ O-NET ข้อสอบ O-NET กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้น ป.6 มีข้อสอบแบบเขียนตอบ/อัตนัย น้ำหนักคะแนนเป็น 20% ของคะแนนเต็ม รายละเอียดกรอบโครงสร้างข้อสอบ (Test Blueprint) ศึกษาได้ที่ http://www.niets.or.th/th/catalog/view/212 การดำเนินงานของ สพฐ. จัดส่งมาตรฐานและตัวชี้วัดต้องรู้ให้กับสถาบันทดสอบฯ ใช้เป็นกรอบในการทดสอบ ร่วมมือกำหนดกรอบโครงสร้างข้อสอบ(Test Blueprint) ชี้แจงประชาสัมพันธ์ให้สถานศึกษาและหน่วยงานในสังกัดได้รับทราบ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ไม่ได้สอบ O-NET กำหนดให้สถานศึกษาเป็นผู้ดำเนินการประเมินคุณภาพผู้เรียน โดยมีเขตพื้นที่ และ สพฐ.ให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน โดยรูปแบบและแนวทางปฏิบัติในการประเมินยึดตามประกาศ สพฐ. ลงวันที่ 22 มิถุนายน 2560 ศึกษารายละเอียดได้ที่ http://bet.obec.go.th

การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560 : การสอบ O-NET การดำเนินงานเขตพื้นที่การศึกษา ชี้แจงกรอบโครงสร้างข้อสอบ (Test Blueprint) ให้สถานศึกษา และหน่วยงานในสังกัดได้รับทราบ ส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษาให้มีความพร้อมสำหรับการทดสอบ O-NET บริหารจัดการสอบ และประสานความร่วมมือกับสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) สพฐ. และสนามสอบ ตรวจเยี่ยมสนามสอบ และรายงานผลการทดสอบต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง การดำเนินงานของสถานศึกษา ชี้แจงกรอบโครงสร้างข้อสอบ (Test Blueprint) และรูปแบบข้อสอบให้ผู้เรียนทราบ เตรียมความพร้อมนักเรียนสำหรับการสอบ O-NET รายงานผลการทดสอบต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง

การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560 : การสอบ O-NET ระยะเวลาสอบ O-NET ป.6 สอบวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2561 ประกาศผลสอบวันที่ 25 มีนาคม 2561 ม.3 สอบวันที่ 3 – 4 กุมภาพันธ์ 2561 ประกาศผลสอบวันที่ 26 มีนาคม 2561 ม.6 สอบวันที่ 3 – 4 มีนาคม 2561 ประกาศผลสอบวันที่ 3 เมษายน 2561 แหล่งสืบค้นข้อมูลการสอบ O-NET สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เบอร์โทรศัพท์ 02 217 3800 เว็บไซต์สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) http://NIETS.or.th

การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560 : การประเมินความสามารถด้านการอ่าน ชั้น ป.1 ความสำคัญของการประเมินความสามารถด้านการอ่าน ชั้น ป.1 เป็นการดำเนินงานตามนโยบายให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่อง ภายใต้โครงการ “พลิกโฉมโรงเรียนทำให้นักเรียน ป.1 อ่านออกเขียนได้ใน 1 ปี” สทศ.สพฐ. เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพผู้เรียน ได้พัฒนาเครื่องมือประเมินด้านการอ่านที่ได้มาตรฐาน เพื่อให้เขตพื้นที่และสถานศึกษาได้ดำเนินการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียนชั้น ป.1 ทุกสังกัดทั่วประเทศ ขอบเขตความสามารถด้านการอ่าน มี 2 ด้าน คือ 1) การอ่านออกเสียง และ 2) การอ่านรู้เรื่อง มีเป้าหมายเพื่อให้เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษามีข้อมูลนักเรียนรายบุคคลสำหรับการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพผู้เรียนต่อไป

การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560 : การประเมินความสามารถด้านการอ่าน ชั้น ป.1 4. กรอบโครงสร้างข้อสอบ สมรรถนะด้านการอ่านออก มีตัวชี้วัดตามหลักสูตร ดังนี้ อ่านออกเสียง คำคล้องจอง ข้อความสั้น ๆ หรือประโยคสั้นที่ใช้ในชีวิตประจำวัน (คำที่มีรูปวรรณยุกต์ และไม่มีรูปวรรณยุกต์ คำที่มีตัวสะกดตรงมาตรา และไม่ตรงมาตรา คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ คำที่มีอักษรนำ) สมรรถนะด้านอ่านรู้เรื่อง มีตัวชี้วัดตามหลักสูตร คือ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านร้อยแก้ว ร้อยกรอง สำหรับเด็ก (เป็นข้อความง่าย ๆ) จับใจความจากเรื่องที่อ่าน ตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน บอกความหมายของคำ/เครื่องหมายสัญลักษณ์ที่สำคัญ ที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน คาดคะเนจากเรื่องที่อ่าน รายละเอียดโครงสร้างข้อสอบ ดูได้ที่ http://bet.obec.go.th

การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560 : การประเมินความสามารถด้านการอ่าน ชั้น ป.1 การดำเนินงานของ สพฐ. จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานประเมินการอ่าน ป.1 แก่เขตพื้นที่ (ศูนย์สอบ) จัดสรรงบประมาณในการดำเนินงานให้แก่ศูนย์สอบ จัดพิมพ์ข้อสอบ พร้อมทั้งรับส่งไปยังศูนย์สอบทั่วประเทศ ตรวจเยี่ยมสนามสอบ ประมวลผล ประกาศผลสอบผ่านระบบ NT Access รายงานผลการทดสอบต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง การดำเนินงานของเขตพื้นที่การศึกษา แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการระดับศูนย์สอบ ร่วมประชุมวางแผนในการบริหารจัดการสอบการอ่านระดับศูนย์สอบ ตรวจสอบข้อมูลนักเรียนที่เข้าสอบของสถานศึกษาในศูนย์สอบผ่านระบบ NT Access จัดสนามสอบและประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่กรรมการสนามสอบ ดำเนินการจัดสอบ ตรวจข้อสอบ และส่งผลการทดสอบการอ่านไปยัง สพฐ. ผ่านระบบ NT Access สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

การดำเนินงานของสถานศึกษา การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560 : การประเมินความสามารถด้านการอ่าน ชั้น ป.1 การดำเนินงานของสถานศึกษา กรอกข้อมูลนักเรียนที่เข้าสอบการอ่านผ่านระบบ NT Access ตรวจสอบและยืนยันข้อมูลนักเรียนที่เข้าสอบของสถานศึกษา ผ่านระบบ NT Access ดำเนินการจัดสอบ ส่งผลการทดสอบการอ่านไปยังศูนย์สอบ รายงานผลการทดสอบต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง

การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560 : การประเมินความสามารถด้านการอ่าน ชั้น ป.1 ระยะเวลาดำเนินงานประเมินการอ่าน ป.1 จัดประชุมชี้แจงเขตพื้นที่การศึกษา กลางเดือนพฤศจิกายน 2560 ช่วงเวลาประเมิน (ยืดหยุ่นกับสถานศึกษา) ระหว่างวันที่ 19 – 23 กุมภาพันธ์ 2561 ประกาศผลประเมินการอ่าน วันที่ 2 เมษายน 2561 แหล่งสืบค้นข้อมูลการประเมินการอ่าน ป.1 กลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา สทศ. สพฐ. เบอร์โทรศัพท์ 02 288 5783 เว็บไซต์สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.http://bet.obec.go.th

นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง   การสอบ Pre O-Net   การสร้างความเข้มแข็งของระบบการวัดและประเมินผล

: การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560 นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560 แนวทางการดำเนินงานการใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ความสำคัญ เป็นไปตามประกาศ เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียน ลงวันที่ 18 เมษายน 2557 มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สถานศึกษามีการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรมในการยกระดับคุณภาพนักเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานให้สามารถคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาและเรียนรู้ได้ ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 แนวทางดำเนินงาน ให้สถานศึกษาใช้ข้อสอบกลางที่พัฒนาโดย สพฐ. (ส่วนกลาง) ไปใช้ในการสอบปลายปี ซึ่งถือเป็นการประเมินระดับชั้นเรียน/สถานศึกษา ไม่ใช่เป็นการประเมินระดับชาติ การใช้ผลจากการข้อสอบมาตรฐานกลาง นำคะแนนสอบที่ได้ไปคิดเป็นคะแนนร้อยละ 20 ของคะแนนสอบปลายภาคทั้งหมด ระดับชั้นที่ใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง คือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2, 4, 5 และมัธยมศึกษาปีที่ 1, 2

: การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560 นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560 ลักษณะและจำนวนของข้อสอบมาตรฐานกลางแต่ละระดับชั้น ลักษณะข้อสอบมาตรฐานกลาง วัดในตัวชี้วัดที่สำคัญและเน้นทักษะการคิดขั้นสูง (คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดแก้ปัญหา และคิดสร้างสรรค์) กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ใช้แบบทดสอบมาตรฐานกลาง - ชั้น ป.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย - ชั้น ป.4-5 คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ - ชั้น ม.1-2 คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ และภาษาต่างประเทศ

: การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560 นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560 การดำเนินงานของ สพฐ. สร้างและพัฒนาข้อสอบมาตรฐานกลาง จัดส่งกรอบโครงสร้างแบบทดสอบ พร้อมข้อสอบในแต่ละระดับชั้นในกลุ่มสาระการเรียนรู้ละ 1 ฉบับ และคู่มือการดำเนินการจัดสอบ เพื่อให้เขตพื้นที่การศึกษาดำเนินการจัดสอบที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน การดำเนินงานของเขตพื้นที่การศึกษา ดำเนินการจัดสอบให้เป็นมาตรฐาน โดยจัดสอบพร้อมกันทั้งเขต ตามความพร้อมของเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา สถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาเดียวกัน ต้องสอบพร้อมกันในเวลาเดียวกัน ตามวันเวลาที่กำหนด (อาจดำเนินการสอบโดยรวมกับข้อสอบในวิชาเดียวกัน และดำเนินการสอบไปพร้อมกับการจัดสอบปลายภาคเรียนที่สองของสถานศึกษาได้)

: การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560 นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560 การดำเนินงานของเขตพื้นที่การศึกษา ส่งผลการสอบในภาพรวมของเขตพื้นที่การศึกษา จัดทำแบบบันทึกคำตอบรายข้อ และคะแนนของนักเรียนรายบุคคลในแต่ละชั้นที่จัดสอบ โดยการสุ่มสถานศึกษาในแต่ละขนาดสถานศึกษา ดังนี้ 1) สถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษหรือขนาดใหญ่ จำนวน 2 แห่ง 2) สถานศึกษาขนาดกลาง จำนวน 5 แห่ง 3) สถานศึกษาขนาดเล็ก (มีนักเรียนไม่น้อยกว่า 10 คน/ชั้น) จำนวน 10 แห่ง

: การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560 นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560 การดำเนินงานของสถานศึกษา ดำเนินการจัดสอบให้เป็นมาตรฐาน โดยร่วมกับเขตพื้นที่การศึกษากำหนดวันเวลาสอบภายในวันเวลาที่กำหนด ดำเนินการตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์การตรวจให้คะแนนที่กำหนด นำข้อมูลผลการสอบคิดเป็นร้อยละ 20 ของคะแนนสอบปลายภาคเรียน ไปรวมกับคะแนนสอบปลายภาคเรียนและคะแนนเก็บ เพื่อตัดสินผลการเรียน บันทึกข้อมูลผลการสอบข้อสอบมาตรฐานกลางส่งเขตพื้นที่การศึกษา

: การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560 นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560 ระยะเวลาดำเนินงาน จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่เขตพื้นที่ฯ วันที่ 28-31 มกราคม 2561 ส่งข้อสอบให้เขตพื้นที่การศึกษา วันที่ 31 มกราคม 2561 กำหนดจัดสอบ - ระดับประถมศึกษา วันที่ 26 กุมภาพันธ์ – 6 มีนาคม 2561 - ระดับมัธยมศึกษา วันที่ 12-23 กุมภาพันธ์ 2561

สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสอบด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560 สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสอบด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง กลุ่มพัฒนาเครื่องมือและบริการการทดสอบ สทศ.สพฐ. เบอร์โทรศัพท์ 0 2288 5781 เว็บไซด์สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.http://bet.obec.go.th

นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การสอบ Pre O-Net แนวทางดำเนินงาน สทศ.สพฐ. สร้างและพัฒนาข้อสอบมาตรฐานวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพื่อให้บริการแก่เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา ใช้ประเมินความพร้อมของนักเรียนในการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ข้อสอบ Pre O-NET ข้อสอบระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ข้อสอบมี 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)

นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การสอบ Pre O-Net ลักษณะและจุดมุ่งหมายของการสร้างข้อสอบ Pre O-NET รูปแบบของข้อสอบเป็นไปตามแนวทางข้อสอบ O-NET วัดในตัวชี้วัดสำคัญ และเน้นการคิดขั้นสูง (คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดแก้ปัญหา และคิดสร้างสรรค์) ใช้เพื่อตรวจสอบความพร้อมของนักเรียน และมีข้อมูลสำหรับนำไปกำกับติดตามสถานศึกษาในสังกัดเร่งแก้ไขปรับปรุงผลการสอบสถานศึกษาที่ผลสัมฤทธิ์ต่ำ ก่อนจะสอบ O-NET เป็นการกระตุ้นให้นักเรียนเห็นความสำคัญของการสอบมากขึ้น ให้นักเรียนคุ้นเคยกับรูปแบบข้อสอบ และได้รับประสบการณ์ในการทำข้อสอบและระบายคำตอบ

นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การสอบ Pre O-Net การดำเนินงานของเขตพื้นที่การศึกษา แจ้งความประสงค์ในการใช้แบบทดสอบ Pre O-NET รับต้นฉบับข้อสอบ Pre O-NET จาก สพฐ. ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาดำเนินการสอบ Pre O-NET การจัดสอบ Pre O-NET ขึ้นอยู่กับความพร้อม/ความสมัครใจของเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา

นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การสอบ Pre O-Net ระยะเวลาในการดำเนินงานสอบ Pre O-NET สพฐ. จัดส่งข้อสอบให้เขตพื้นที่ฯ วันที่ 6-8 ธันวาคม 2560 เขตพื้นที่ดำเนินการสอบ วันที่ 9 ธันวาคม 2560 - 15 มกราคม 2561 สืบค้นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสอบ Pre O-NET กลุ่มพัฒนาเครื่องมือและบริการการทดสอบ สทศ.สพฐ. เบอร์โทรศัพท์ 0 2288 5781 เว็บไซด์สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. http://bet.obec.go.th

: การสร้างความเข้มแข็งของระบบการวัดและประเมินผล นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การสร้างความเข้มแข็งของระบบการวัดและประเมินผล วิเคราะห์ผลการสอบ O-NET เพื่อนำผลไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการศึกษา พัฒนาบุคลากรทั้งระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา ในการยกระดับคุณภาพของผู้เรียนในการทดสอบระดับชาติ (O-NET) และเพื่อพัฒนาระบบการวัดและประเมินในชั้นเรียน ให้มีคุณภาพได้มาตรฐานตามแนวทางการทดสอบระดับชาติและนานาชาติ (ช่วงเมษายน-พฤษภาคม 2561) สร้างเครือข่ายและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลด้วยการจัดโครงการสัมมนาชุมนุมนักวัดและประเมินผลฯ ให้บริการคลังข้อสอบแบบปรนัยและอัตนัยในลักษณะออนไลน์ (ช่วงภาคเรียนที่ 2 ของปีการศึกษา 2560) สนับสนุนงบประมาณดำเนินงานให้แต่ละเขตพื้นที่ดำเนินงานยกระดับคุณภาพฯ