สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
สถานการณ์ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
แนวทางการปรับแผนโครงการ และแผนงบประมาณ ภายในหน่วยงาน ปี 2558
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) น้ำหนั ก : LineStaff Line & Staff 777.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (ภาพรวม งบลงทุน)
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระดับความสำเร็จในการแก้ไข เรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
คู่มือการใช้เครื่องชี้วัดสำหรับ การประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐาน ทางคุณธรรมและจริยธรรม ส่วนมาตรฐานการบริหารงานบุคคล สำนักงาน ก.ถ. สป.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการเสริมสร้างธรรมาภิบาลเพื่อพัฒนาภาพลักษณ์และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร

เหตุผล มติคณะรัฐมนตรีเห็นชอบให้ทุกภาคส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐกำหนดมาตรการหรือแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบในส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ กรุงเทพมหานคร จึงได้กำหนดให้ทุกหน่วยงานและส่วนราชการฯ ดำเนินการจัดการความเสี่ยงต่อการกระทำทุจริต เพื่อสร้างแนวทางในการป้องกันการทุจริต ที่อาจจะเกิดขึ้นภายในหน่วยงาน เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน และเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีแก่กรุงเทพมหานคร

คำอธิบาย 1. การเสริมสร้างธรรมาภิบาลหรือการกำกับดูแลที่ดีในองค์กร (Good Corporate Governance) เป็นแนวคิดของการบริหารจัดการองค์กรที่ต้องคำนึงถึงความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ทุกกลุ่มที่เกี่ยวข้องอย่างสมดุลย์ ซึ่งมีความหลากหลายแต่ล้วนต้องการความสำเร็จ ดังนั้น องค์กรจึงนำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการที่จะช่วยส่งเสริมหรือสนับสนุนให้การปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ ขององค์กรบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจนเสริมสร้างธรรมาภิบาลหรือการกำกับดูแลที่ดีในองค์กร ซึ่งจะทำให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีจากมุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่าง ๆ ดังกล่าว

คำอธิบาย 2. กรณีทุจริตหรือประพฤติมิชอบต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในองค์กรมีผลกระทบต่อภาพลักษณ์ที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ รับรู้ ดังนั้น นอกจากองค์กรจะบริหารความเสี่ยงของงานด้านต่าง ๆ องค์กรควรคำนึงถึงความเสี่ยงด้านการทุจริตในกรณีต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นในองค์กรด้วย เพื่อให้เกิดธรรมาภิบาลหรือการกำกับดูแลที่ดีในองค์กร 3. การบริหารความเสี่ยงด้านการทุจริต หมายถึง กระบวนการที่เป็นระบบในการค้นหา ระบุ วิเคราะห์หรือประเมิน จัดลำดับ จัดการ และติดตามความเสี่ยงด้านการทุจริต เพื่อให้การปฏิบัติงานขององค์กรบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด โดยมีกรณีทุจริตต่าง ๆ เกิดน้อยที่สุดหรืออยู่ในระดับความเสี่ยงที่องค์กรยอมรับได้

4. สำนักงานตรวจสอบภายใน ได้จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อระดมความคิดเห็นจากตัวแทน ขรก.ในหน่วยงาน/ ส่วนราชการในสังกัด สนป. เพื่อร่วมกันค้นหาและระบุความเสี่ยงด้านการทุจริตที่อาจจะเกิดขึ้นกับกรุงเทพมหานคร จำนวน 10 หัวข้อ ได้แก่ การจัดซื้อจัดจ้าง การเรียกรับผลประโยชน์ การยักยอกเงิน การใช้ทรัพย์สินของทางราชการอย่างไม่เหมาะสม การเบียดบังเวลาราชการ การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานที่ปฏิบัติไม่เหมาะสมและไม่ถูกต้อง การจ่ายเงินต่าง ๆ เช่น เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุและผู้พิการ ค่ารักษาพยาบาล ฯลฯ ไม่ถูกต้องเหมาะสม การปฏิบัติงานเชิงนโยบายที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม การเบิกค่าอาหารทำการนอกเวลาอย่างไม่ถูกต้องและไม่เหมาะสม การแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการอย่างไม่เป็นธรรม ไม่ถูกต้อง และไม่เหมาะสม

5. กำหนดให้หน่วยงาน/ส่วนราชการฯ ดำเนินการบริหารความเสี่ยงต่อการกระทำทุจริต 3 หัวข้อ จากหัวข้อการบริหารความเสี่ยงต่อการกระทำทุจริต 10 หัวข้อดังกล่าวข้างต้น โดยการพิจารณาคัดเลือกให้ดำเนินการ ดังนี้

โดยเลือกหัวข้อความเสี่ยงจาก สำนักงานเขต ฝ่ายโยธา 1 หัวข้อ ฝ่ายเทศกิจ 1 หัวข้อ โดยเลือกหัวข้อความเสี่ยงจาก 10 หัวข้อที่กำหนด ฝ่ายอื่นอีก 1 หัวข้อ

สำนัก/สำนักงานเขต/ ส่วนราชการในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานคร พิจารณาความเสี่ยงต่อการกระทำทุจริตของกระบวนงานหลัก จำนวน 3 หัวข้อ จาก 5 หัวข้อ ที่ได้รับการประชุมระดมความคิดเห็นร่วมกันของผู้แทนสำนัก/สำนักงาน/ส่วนราชการ การจัดซื้อจัดจ้าง การเบิกค่าอาหารทำการนอกเวลาอย่างไม่ถูกต้องและไม่เหมาะสม การใช้ทรัพย์สินของทางราชการอย่างไม่เหมาะสม การจ่ายเงินต่างๆ เช่น เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุและผู้พิการ ค่ารักษาพยาบาล ฯลฯ ไม่ถูกต้องเหมาะสม การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานที่ปฏิบัติ ไม่เหมาะสมและไม่ถูกต้อง

เกณฑ์การให้คะแนน ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1 หน่วยงานสามารถจัดทำแผนบริหารจัดการความเสี่ยงด้านการทุจริตได้อย่างครบถ้วนและสมบูรณ์ และสามารถดำเนินการตามแผนฯ ที่กำหนดไว้ได้อย่างเป็นรูปธรรมและบรรลุผลสำเร็จ (ร้อยละ 60) ส่วนที่ 2 การประเมินผลสำเร็จของการบริหารความเสี่ยงด้านการทุจริตตามฯ โดยประเมินจากตัวชี้วัดผลสำเร็จของการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านการทุจริตที่หน่วยงานกำหนดและผ่านการพิจารณาจากผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องเรียบร้อยแล้ว (ร้อยละ 40) ส่วนที่ 3 การประเมินผลลัพธ์/ผลสัมฤทธิ์ของการบริหารความเสี่ยงด้านการทุจริตฯ ซึ่งมีผลต่อภาพลักษณ์และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยหากมีการพบข้อมูล ทั้งจากหน่วยงานภายใน/ภายนอกว่าหน่วยงานนั้น ๆ มีเรื่องร้องเรียนหรือกรณีที่เกี่ยวข้องกับทุจริต* ตามหัวข้อทุจริตที่หน่วยงานได้จัดทำและดำเนินการตามแผนฯ ไว้แล้ว หน่วยงานนั้น ๆ จะถูกหักคะแนน ร้อยละ 10 จากร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการฯ (คะแนนรวมของตัวชี้วัดที่ 4.1) แผนบริหารจัดการความเสี่ยงด้านการทุจริตครบถ้วน (ร้อยละ 40) ดำเนินกิจกรรม/โครงการที่กำหนดไว้ในแผนฯ ครบถ้วน (ร้อยละ 20)

วิธีการคำนวณ (ส่วนที่ 2) 1. การคำนวณร้อยละความสำเร็จของแต่ละตัวชี้วัด ผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด x 100 เป้าหมายของตัวชี้วัด 2. การคำนวณร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัดการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านทุจริตของหน่วยงาน ผลตัวชี้วัดที่ 1 + ผลตัวชี้วัดที่ 2 + ผลตัวชี้วัดที่ 3 + ผลตัวชี้วัดที่ n X 40 จำนวนตัวชี้วัดผลสำเร็จทั้งหมด 100

เกณฑ์การให้คะแนนภาพรวม : ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 10 ต่อ 1 คะแนน ระดับคะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการตาม มาตรการเสริมสร้างธรรมาภิบาลเพื่อพัฒนาภาพลักษณ์และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน 60 70 80 90 100

แจ้งกลับให้ทุกหน่วยงานทราบประมาณเดือนพฤศจิกายน 2560 การดำเนินการ สำนักงาน ก.ก. จัดประชุม เชิงปฏิบัติการหน่วยงาน/ส่วนราชการเพื่อชี้แจงทำความเข้าใจและระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการความเสี่ยง และกิจกรรมการป้องกันกระทำทุจริตประมาณเดือน ประมาณตุลาคม 2560 สำนักงาน ก.ก.ประชุมร่วมกับ ส.ต.น. เพื่อสรุปหลักเกณฑ์และแนวทางการบริหารความเสี่ยงในประเด็นดังกล่าว และนำเสนอคณะกรรมการฯ ที่จัดตั้งขึ้น แจ้งกลับให้ทุกหน่วยงานทราบประมาณเดือนพฤศจิกายน 2560 ขั้นตอนที่ 1

ขั้นตอนที่ 2 หน่วยงานค้นและระบุความเสี่ยงต่อกระบวนการทุจริต ในกระบวนงาน ที่ต้องการนำมาขอรับ การประเมิน 3 หัวข้อ กำหนดแผนการจัดการความเสี่ยง ที่มีการระบุโครงการ/กิจกรรม ที่จะดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยง จำนวน 3 โครงการ/กิจกรรม พร้อมจัดลำดับความเสี่ยง ส่งแบบรายงานที่ผ่านการพิจารณาจาก ที่ประชุมของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน ให้สำนักงาน ก.ก. จำนวน 2 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ 1 ภายใน 15 ธันวาคม 2560 ครั้งที่ ภายในวันที่ 5 พฤษภาคม 2561

ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 สำนักงาน ก.ก.และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องพิจารณาความเหมาะสมของหัวข้อและแผน/แนวทาง/วิธีการ/โครงการ/กิจกรรมที่หน่วยงาน/ส่วนราชการเสนอให้มีความสอดคล้องกับภารกิจ สำนักงาน ก.ก. แจ้งผลการพิจารณาให้หน่วยงานต่างๆทราบ ภายในเดือนมกราคม 2561 ขั้นตอนที่ 3 หน่วยงาน/ส่วนราชการฯ ดำเนินการบริหารความเสี่ยงตามแผนบริหารความเสี่ยงฯ จัดเตรียมเอกสาร/หลักฐานต่างๆเพื่อพร้อมรอรับการตรวจติดตามประเมินผลฯ ขั้นตอนที่ 4

เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณาประเมินผล หน่วยงานที่รับการตรวจ จะต้องจัดเตรียมเอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้ประเมินผลตรวจสอบข้อมูล แบบฟอร์มการรายงานต่าง ๆ ที่มีข้อมูลครบถ้วนตามหัวข้อที่กำหนด เอกสารหรือหลักฐานประกอบที่แสดงถึงการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงด้านทุจริต ของหน่วยงาน เอกสารหรือหลักฐานประกอบการรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดความสำเร็จของการ จัดการความเสี่ยงด้านทุจริตของหน่วยงาน