Prof.Emeritus Dr.ANURAK PANYANUWAT CAMT, CHIANG MAI UNIVERSITY www.camt.cmu.ac.th การเรียนรู้ร่วมกับชุมชนผ่านการ บูรณาการงานวิจัยและการบริการวิชาการอย่างมีส่วนร่วม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Chiang Mai University www.cmu.ac.th
"การเรียนรู้ร่วมกับชุมชนผ่านการบูรณาการงานวิจัยและการบริการวิชาการอย่างมีส่วนร่วม” โดย ศ. เกียรติคุณ ดร.อนุรักษ์ ปัญญานุวัฒน์ การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ มหาวิทยาลัยพายัพ 2559 ร่วมกับเครือข่ายการบริหารวิจัยภาคเหนือตอนบน สกอ. ในวันศุกร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ 2559 มหาวิทยาลัยพายัพ
ประเด็นสำคัญการนำเสนอ ข้อเสนอการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาระบบกลไกการขับเคลื่อนการสร้างเครือข่ายงานวิจัย ภาคเหนือผ่านศูนย์บ่มเพาะคณาจารย์ นักวิจัยและสายสนับสนุน ตัวแปรสำคัญเกี่ยวกับบริบทชุมชน ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นพลวัตร และเปราะบาง การเรียนรู้ร่วมกับชุมชนผ่านการบูรณาการงานวิจัยและการบริการวิชาการอย่างมีส่วนร่วม กำหนดประเด็นการวิจัยที่เน้นการวิจัยเพื่อการบูรณาการสู่การบริการวิชาการ และการนำมาสู่การเรียนการสอน
โครงการศูนย์บ่มเพาะคณาจารย์ นักวิจัยและสายสนับสนุน ข้อเสนอการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาระบบกลไกการขับเคลื่อนการสร้างเครือข่ายงานวิจัย ภาคเหนือ โครงการศูนย์บ่มเพาะคณาจารย์ นักวิจัยและสายสนับสนุน เราต้องไม่ทิ้งกัน แม้ว่าจะต้องแข่งกันไต่อันดับโลก หรือสร้าง Specific expertise 16/09/61 เสวนาวิจัย มทร พายัพ เชียงใหม่ 6 มีค 2556
เสวนาวิจัย มทร พายัพ เชียงใหม่ 6 มีค 2556 ผู้ว่าจ้างจากรัฐ /เอกชน/ NGO ผู้ให้ทุนตามหน้าที่ แหล่งทุนภายนอกมหาวิทยาลัย หน่วยงานรองรับใน ชุมชนและมหาวิทยาลัย แหล่งทุนภายในมหาวิทยาลัย นักวิจัย มือใหม่/มืออาชีพ คุณภาพงานวิจัย การเรียนรู้ การเรียนการสอนและใช้ประโยชน์ 16/09/61 เสวนาวิจัย มทร พายัพ เชียงใหม่ 6 มีค 2556
กระบวนการบ่มเพาะเกาะเส้นทางสู่การสร้างเครือข่ายการพัฒนานักวิจัย Phase 1 การจัดตั้งศูนย์บ่มเพาะนักวิจัยและคณาจารย์ ภาคเหนือ พร้อม Action Plan และข้อบังคับระเบียบสนับสนุน ระดับนโยบายและปฏิบัติการ Phase 2 นักวิจัยและคณาจารย์ เรียนรู้ และปรับฐานคิดการทำวิจัย พร้อมช่วยจัด Mentors in Research Design, implementation and เสนอผลงานวิชาการที่ได้มาตรฐาน Phase 3 ตรวจสอบ และจัดทำ Data base คณาจารย์และนักวิจัยอาวุโส ของ มหาวิทยาลัยเครือข่าย ในฐานะอาสาสมัครช่วยน้อง ๆ สู่การทำผลงานวิชาการ 16/09/61 เสวนาวิจัย มทร พายัพ เชียงใหม่ 6 มีค 2556
กระบวนการบ่มเพาะ (ต่อเนื่อง) ปรับปรุง Research Proposal เครื่องมือ กับแผนดำเนินการวิจัย แล้วนัดพบคณาจารย์และนักวิจัยอาวุโส ที่เป็นพี่เลี้ยง (เมษายน) เพื่อปรับปรุงให้สมบูรณ์ และเข้าสู่กระบวนการขอทุนสนับสนุน ดำเนินการวิจัย และให้มองหาช่องทางเขียนบทความวิจัยลงวารสาร และ Conference จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ และนำเสนอผลการวิจัยครึ่งอายุโครงการ (Formative Monitoring and Evaluation for Amendment) โดยมี สารบรรณ, บทที่ 1-3, เครื่องมือ, บทที่ 4 (ผลวิเคราะห์บางส่วน) ภาคผนวก บรรณานุกรม (คณะกำหนดเวลา) 16/09/61 เสวนาวิจัย มทร พายัพ เชียงใหม่ 6 มีค 2556
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของบุคลากรสายวิชาการ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ และนำเสนอผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ (คณะกำหนดเวลา) คณะ รายงานผลต่อมหาวิทยาลัย (คณะกำหนดเวลา) นำผลการวิจัยตรวจสอบกับเกณฑ์ สกอ. ที่เกี่ยวข้อง เพื่อ การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของบุคลากรสายวิชาการ 16/09/61 เสวนาวิจัย มทร พายัพ เชียงใหม่ 6 มีค 2556
ตำแหน่งทางวิชาการในมหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาจารย์ Teaching Assistant ตำแหน่ง บริหาร 16/09/61 เสวนาวิจัย มทร พายัพ เชียงใหม่ 6 มีค 2556
กรณีชุมชนในลุ่มน้ำโขง ในภาวะ การเปลี่ยนแปลงจากASEAN Community: Mobility or Competitiveness 1. Globalization, Internationalization or Regionalization 2. Mutual Resource Conservation or Advantage Superiority
Survival of the Fitness Extinction of the Losers Cross-Border Development or/and Exploitation Multi-Collaboration, competitiveness, Hegemony หรือ ครอบงำ Mutual collaboration, conservation and sharing utility or in a controversy, exploitation from the disadvantages, and the sincerity from the orther sides.
Awareness from the community context’s fixed and variable factors กลุ่มตัวแปรประชากรและการตั้งถิ่นฐาน ประกอบด้วย 1. โครงสร้างประชากร 2. ศักยภาพของประชากร 3. ความแตกต่าง/ผสมกลมกลืนในชุมชนในหลายมิติ 4. การตั้งถิ่นฐาน 5. ความสัมพันธ์ในชุมชน 6. ประวัติศาสตร์ชุมชนและความป็นเอกภาพ
ตัวแปรสำคัญเกี่ยวกับบริบทชุมชน (ต่อ) กลุ่มตัวแปรเศรษฐกิจ/อาชีพ/การผลิต 1. ความเจริญเติบโตของชุมชน 2. ความสามารถในการสร้างรายได้และการใช้ทุน 3. สถานภาพของเศรษฐกิจของประชาชน 4. การผลิต/การจ้างงาน 5. การใช้ประโยชน์ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ 6. ความร่วมมือ/การอุดหนุนด้านการผลิต
ตัวแปรสำคัญเกี่ยวกับบริบทชุมชน (ต่อ) กลุ่มตัวแปรชีวภาพ ประชากรและบริการชุมชน 1. สุขภาพและอนามัยของชุมชน 2. บริการสาธารณสุข 3. บริการการศึกษา 4. บริการสุขาภิบาล 5. นันทนาการ 6. บริการสาธารณูปโภค 7. ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ตัวแปรสำคัญเกี่ยวกับบริบทชุมชน (ต่อ) กลุ่มตัวแปรศิลปวัฒนธรรมธรรมชาติและสุนทรียภาพ 1. คุณค่าทางประวัติศาสตร์ 2. คุณค่าทางโบราณคดี 3. คุณค่าทางสถาปัตยกรรม 4. คุณค่าทางนมัสการ 5. คุณค่าทางด้านวัฒนธรรม 6. คุณค่าด้านทัศนียภาพ
ตัวแปรสำคัญเกี่ยวกับบริบทชุมชน (ต่อ) กลุ่มตัวแปรการมีส่วนร่วม 1. การรวมกลุ่มการตื่นตัวทางการเมือง 2. ภาวะผู้นำ 3. ความสัมพันธ์กับองค์กรต่างๆ
กลุ่มตัวแปรประชากรและการตั้งถิ่นฐาน 1.โครงสร้างประชากร มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 1.1 ขนาด 1.2 เพศ 1.3 อายุ 1.4 อัตราการเพิ่ม (เกิด-ตาย-อพยพเข้า-ออก-อัตราการเพิ่มของประชากร 1.5 ความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่
กลุ่มตัวแปรประชากรและการตั้งถิ่นฐาน (ต่อ) 2. ศักยภาพของประชากร มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 2.1 การศึกษา (อ่านออกเขียนได้ การฝึกอบรม) 2.2 การรับข่าวสาร
กลุ่มตัวแปรประชากรและการตั้งถิ่นฐาน (ต่อ) 3. ความแตกต่าง/ผสมกลมกลืนในชุมชน มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 3.1 ชนกลุ่มน้อยชนเผ่า 3.2 การแบ่งกลุ่มย่อยในชุมชน 4. การตั้งถิ่นฐาน มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 4.1 ประวัติชุมชน 4.2 ระยะเวลาการตั้งถิ่นฐาน 4.3 ประสบการณ์ของชุมชน
กลุ่มตัวแปรประชากรและการตั้งถิ่นฐาน (ต่อ) 5. ความสัมพันธ์ในชุมชน มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 5.1 ครัวเรือน 5.2 เครือญาติ 5.3 การติดต่อภายในชุมชน
กลุ่มตัวแปรเศรษฐกิจ/อาชีพ/การผลิต 1. ความเจริญเติบโตของชุมชน มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 1.1 ผลิตภัณฑ์/ผลผลิตสำคัญ/ปี 1.2 การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมการขยายตัวของภาคเกษตรกรรม 1.3 การขยายตัวของภาคบริการ
กลุ่มตัวแปรเศรษฐกิจ/อาชีพ/การผลิต (ต่อ) 2. ความสามารถในการสร้างรายได้ มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 2.1 อาชีพหลัก 2.2 อาชีพเสริม 2.3 รายได้ต่อครัวเรือน 3. สถานภาพทางเศรษฐกิจของประชาชน มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 3.1 เงินออม 3.2 ที่ดินอยู่อาศัย (หนี้สิน/ครัวเรือน) 3.3 การถือครอง/การเช่า 3.4 ที่ดินเพื่ออยู่อาศัย (วัตถุประสงค์การกู้เงิน) 3.5 หนี้สิน
กลุ่มตัวแปรเศรษฐกิจ/อาชีพ/การผลิต (ต่อ) 3. สถานภาพทางเศรษฐกิจของประชาชน มีตัวชี้วัดประกอบด้วย (ต่อ) 3.6 สิ่งปลูกสร้าง 3.7 ทรัพย์สิน 3.8 พาหนะ 3.9 การอุปโภค-บริโภค 4. การผลิต/การจ้างงาน มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 4.1 การผลิตที่เป็นอาชีพ 4.2 การจ้างงาน/การว่างงาน
กลุ่มตัวแปรเศรษฐกิจ/อาชีพ/การผลิต (ต่อ) 5. การใช้ประโยชน์ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 5.1 การถือครองที่ดินเพื่อการผลิต 5.2 การเช่าที่ดินทำกิน 5.3 การใช้ที่ดินสาธารณะและทรัพยากรธรรมชาติ 6. ความร่วมมือ/การอุดหนุนด้านการผลิต มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 6.1 กลุ่มอาชีพ 6.2 กลุ่มออมทรัพย์ 6.3 สหกรณ์ 6.4 สหภาพ
กลุ่มตัวแปรชีวภาพและบริการชุมชน 1. สุขภาพและอนามัยของชุมชน มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 1.1 ความยืนยาวของอายุ 1.2 การตายของเด็กแรกเกิด 1.3 โภชนาการ 1.4 โรคสำคัญ 1.5 สาเหตุการเสียชีวิต 2. บริการสาธารณสุข มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 2.1 สถานบริการ 2.2 บุคลากร
กลุ่มตัวแปรชีวภาพและบริการชุมชน (ต่อ) 3. บริการการศึกษา มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 3.1 สถานบริการ 3.2 บุคลากร 4. บริการสุขาภิบาล มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 4.1 การกำจัดขยะและของเสีย 4.2 การบำบัดน้ำเสีย 4.3 การระบายน้ำ 4.4 การป้องกันน้ำท่วม 4.5 น้ำดื่ม - น้ำใช้ 4.6 การจราจร
กลุ่มตัวแปรชีวภาพและบริการชุมชน (ต่อ) 5. นันทนาการ มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 5.1 สวนสาธารณะ 5.2 พื้นที่สาธารณะ 5.3 สนามกีฬา 5.4 สถานที่พักผ่อน/ท่องเที่ยว 6. บริการสาธารณูปโภค มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 6.1 ไฟฟ้า 6.2 ประปา 6.3 การขนส่ง 6.4 โทรศัพท์
กลุ่มตัวแปรชีวภาพและบริการชุมชน (ต่อ) 7. ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 7.1 อาชญากรรม 7.2 อุบัติเหตุ 7.3 อัคคีภัย 7.4 ภัยธรรมชาติ
กลุ่มตัวแปรศิลปวัฒนธรรมธรรมชาติและสุนทรียภาพ 1. คุณค่าทางประวัติศาสตร์ มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 1.1 สถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ 2. คุณค่าทางโบราณคดี มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 2.1 โบราณสถาน 2.2 โบราณวัตถุ 3. คุณค่าทางสถาปัตยกรรม 3.1 สิ่งปลูกสร้างที่สวยงาม 3.2 อาคารอนุรักษ์
กลุ่มตัวแปรศิลปวัฒนธรรมธรรมชาติและสุนทรียภาพ (ต่อ) 4. คุณค่าทางนมัสการ มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 4.1 สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ 4.2 สถานที่สำคัญทางศาสนา 5. คุณค่าทางด้านวัฒนธรรม มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 5.1 วิถีชีวิต/กิจกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ 6. คุณค่าด้านทัศนียภาพ มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 6.1 ภูมิทัศน์ 6.2 สถานที่สวยงานตามธรรมชาติ 6.3 ป่าอนุรักษ์
กลุ่มตัวแปรการมีส่วนร่วม 1.การรวมกลุ่ม การตื่นตัวทางการเมือง มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 1.1 องค์กรชาวบ้าน 1.2 การประชุมหมู่บ้าน 1.3 การใช้สิทธิเลือกตั้ง 1.4 การเรียกร้องประท้วง 2. ภาวะผู้นำ มีตัวชี้วัดประกอบด้วย 2.1 ผู้นำทางการ 2.2 ผู้นำธรรมชาติ
กลุ่มตัวแปรการมีส่วนร่วม (ต่อ) 3. ความสัมพันธ์กับองค์กรต่างๆ 3.1 หน่วยงานราชการ (จังหวัด และอำเภอ เป็นต้น) 3.2 องค์กรเอกชน (หอการค้า สมาคม การค้าเป็นต้น 3.3 องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น
ตัวแปรชุมชนทั้งหมด สำคัญต่อแนวคิดของการพัฒนาองค์กรด้วยกระบวนการจัดการความรู้และวิจัย กระบวนการจัดการความรู้และการจัดการเรียนรู้ วิจัยและการสร้างกรอบแนวคิดการวิจัยแบบบูรณาการ KM can be conducted by various means both conventional, formal, nonformal and inforemal education systems plus Learning, research, socialization or transformation
ภาพลักษณ์องค์กร ภาวะคุกคามจากภายในและภายนอก วัฒนธรรมองค์กร -Standards -Best Practice Shared Values -Norms -Tradition -Behavior -Belief -Values -Attitudes -Regulations -Rules วัฒนธรรมองค์กร
วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันและ ผลการพัฒนาในยุคที่ผ่านมา Needs Problems Scenario Projection Program Planning and Development with 7S McKinsey Concept Stakeholders
บางหน่วยงานมักผูกมัดตนเองเข้ากับบทบาทที่จำกัดและหลงลืมที่จะแสวงหาอิสรภาพและเครือข่ายการทำงาน คงต้องกะเทาะกรอบออกบ้าง
เครื่องมือการพัฒนาที่สำคัญของคนไกลปืนเที่ยง – ความสามารถในการอ่าน เขียน คิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล บนพื้นฐานของการประยุกต์องค์ความรู้ที่หลากหลาย มากกว่าการใช้เงิน หรืองบประมาณเป็นตัวตั้ง
ชุมชนและ วัฒนธรรม ศักยภาพ เครือข่าย ส่งเสริมการเรียนรู้ ตัวแบบ เศรษฐกิจ พอเพียง ส่งเสริมการเรียนรู้ ตัวแบบ ความรู้ใหม่ การส่งเสริมโดยศูนย์พัฒนาโครงการหลวงและ มช
กำหนดประเด็นการวิจัยที่เน้นการวิจัยเพื่อการบูรณาการสู่การบริการวิชาการ และการนำมาสู่การเรียนการสอน ด้วยแนวทางในการบริหารจัดการด้วยปัจจัยแห่งความสำเร็จ 1. ระดับการรับรู้และความเข้าใจของกลุ่มเป้าหมาย 2. ความรู้สึก ความคุ้มค่า ในการที่ได้เข้าร่วมโครงการ ของกลุ่มเป้าหมาย 3. ความรับผิดชอบและความรู้สึกเป็นเจ้าของโครงการเพื่อชุมชน ของกลุ่มเป้าหมาย 4. ความสามารถในการจัดการได้ อย่างต่อเนื่องของโครงการ ในระดับพื้นที่และชุมชน และภาคีเครือข่าย 9/16/2018 Educational Policy and planning
ด้วยปัจจัยแห่งความสำเร็จ 5. ความพึงพอใจ ของผู้เกี่ยวข้องต่อโครงการ และ Stakeholderes 6. ระดับการมีส่วนร่วม ของกลุ่มเป้าหมายทั้งภายในและภายนอก องค์กร ด้วยความเข้าใจและตระหนัก 7. มีมิติแห่งการจัดการความรู้ระหว่างกลุ่มภาคีเครือข่ายอย่างเป็นองค์รวมและเป็นพลวัต 9/16/2018 Educational Policy and planning
แนวทาง/Best Practice สำหรับการปฏิบัติภารกิจ และการปรับปรุงวิธีการปฏิบัติภารกิจ ผ่าน KM 1. ความเป็นผู้นำ ด้านการปกป้องและคุ้มครองสุขภาพ ความผาสุขของประชาชนจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ และคุณภาพชีวิต 2. ความเกี่ยวข้อง ผูกพันกับกลุ่มเป้าหมาย 3. ทัศนคติเชิงบวกด้วยการทำงานอย่างมีส่วนร่วม 4. สมรรถนะสมบูรณ์แบบ ที่นำสู่การสร้างความตระหนักด้วยค่านิยมหลัก แห่งจิตบริการ และการพัฒนาแบบองค์รวมอย่างยั่งยืน 9/16/2018 Educational Policy and planning
แนวทาง/Best Practice 5. การปฏิบัติตัวด้วยจิตบริการ 5. การปฏิบัติตัวด้วยจิตบริการ 6. การมีส่วนร่วม และมีเครือข่าย 7. ประสิทธิผลและ 8. การรับรู้ รู้จักและยอมรับ องค์กรละเครือข่าย ทั้งทั่วประเทศและท้องถิ่น 9/16/2018 Educational Policy and planning
5 M/E Indicators for Netrworking Capacities for Stakeholders’ Involvement The Use of Information and Knowledge The Development of Strategy Mutual Management and Implementation Mutual Monitoring and Evaluation by research techniques 16/09/61
Competency ขอ งเครือข่ายย่อม เป็น Mutual Help เสมือน ทักษะ และ ความรู้ ความสามารถ ที่เป็นส่วนพ้นน้ำ ของภูเขาน้ำแข็งที่ลอยน้ำ ค่านิยมหลัก (Core Values) เป็นเสมือนมัดหวายรวมกันของต่างคนต่างแนวคิด ต่างค่านิยม แต่ ต้องเป็นหนึ่ง เมื่ออยู่ในเครือข่ายองค์กรเดียวกัน
ประเภท Competency ระดับองค์กร (Core Competency) ระดับจัดการ (Managerial Competency) ระดับหน่วยงานภายในองค์กร (Functional or Unit Competency) ระดับบุคลากรที่ปฏิบัติงานในองค์กร (Employee Competency) ซึ่งผู้บริหารจะประเมินแล้วนำมาเปรียบเทียบกับ Competency ของตำแหน่งงานนั้น เพื่อหาช่องว่าง และโอกาสการปรับปรุงคน และ Competency ระดับชุมชน ที่มีความหลากหลาย ย่อมให้โอกาสชุมชนกำหนดเอง
วัตถุประสงค์และเป้าหมาย ของ เครือข่ายองค์กร Development ของ องค์กร วัตถุประสงค์และเป้าหมาย ของ หน่วยย่อย Evaluation Key Performance And Standard ของ องค์กร วัตถุประสงค์และเป้าหมาย ของ Staff ในหน่วยย่อย
บทเรียน KM พิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต โครงการหลวง แหล่งเรียนรู้ รูปแบบแห่งความสำเร็จจากการศึกษา ค้นคว้า ทดลองจนสามารถฟื้นฟูพื้นที่ต้นน้ำลำธารเพื่อการพัฒนาในการใช้ประโยชน์ที่ยั่งยืน จากการปลูกบำรุงป่า การจัดทำฝายต้นน้ำ การพัฒนาอาชีพแก่ประชาชน ชุมชนอย่างพอเพียง จนสามารถจัดเป็นทรัพยากรการเรียนรู้ โดยการศึกษา วิจัย และ/หรือทดลองด้านป่าไม้ แหล่งน้ำ พัฒนาที่ดิน เกษตรอินทรีย์ เกษตรทฤษฎีใหม่ ปศุสัตว์ ประมงและ/หรือการส่งเสริมความหลากหลายทางชีวภาพ จนประสบผลสำเร็จเป็นรูปธรรมอย่างชัดเจนภายในหน่วยปลูกป่าและหน่วยจัดทำฝายต้นน้ำ และขยายผลสู่ชุมชนรอบบริเวณที่ตั้งของหน่วยหรือโครงการอื่นในลักษณะเดียวกัน
พิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต แนวคิดการกำหนดคุณลักษณะ ที่ได้น้อมนำมาจากแนวพระราชดำริ “พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงเห็นว่าในแต่ละท้องถิ่น สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนวิถีการดำเนินชีวิต ประเพณีของประชาชนมีความแตกต่างกัน ดังนั้น การพัฒนา ที่จะให้ได้ผลสมบูรณ์ จึงควรให้สอดคล้องกับสภาพต่างๆ ของท้องถิ่นนั้น
พิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต จากโครงการประเมินป่าและฝายต้นน้ำ ของ UNISERV CMU ปี 51 ตัวอย่างของการนำแนวพระราชดำริพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิตมาปฏิบัติก็อาจดูได้จากที่เป็นแหล่งรวบรวมผลของการศึกษา ค้นคว้าวิจัย การสาธิตและพัฒนาวิทยาการแผนใหม่ในสาขาวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพ การพัฒนาสภาพแวดล้อมและการอนุรักษ์ต้นน้ำลำธาร และหาวิธีการนำวิชาการต่าง ๆ เหล่านี้ ไปสาธิตและพัฒนาให้เหมาะสมง่ายต่อการที่ประชาชนจะเรียนรู้และนำไปปฏิบัติได้จริง ดังมีพระราชดำริว่า “ให้ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ทำหน้าที่เสมือนเป็นพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต หรืออีกนัยหนึ่งเป็นสรุปผลของการพัฒนาที่ประชาชนจะเข้าไปเรียนรู้และนำไปปฏิบัติได้”
The results More self-confidence More reliability Trust and pride Manageability Decision-making ability On the job training with continuity Encouragement for organizational strength
ขอบคุณ ที่ให้ความสนใจครับ