หมวด 4 การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ (Measurement Analysis and knowledge Management)
4.1 การวัดการวิเคราะห์และการจัดการความรู้
ก. การวัดผลการดำเนินงาน
ผ่าน ไม่ผ่าน ศึกษาวิเคราะห์ตัววัดผลการดำเนินงาน หมวด 1-6 รวบรวมตัววัดผลการดำเนินการ สร้างเครื่องมือในการเก็บข้อมูล รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ผ่าน สมบูรณ์หรือไม่ ปรับปรุง/แก้ไข ไม่ผ่าน สรุปรายงานผล 1 ปี และเปรียบเทียบ 3 ปี
สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย 4.1 ก (1) ตัววัดการดำเนินการ วัตถุประสงค์ ตัววัด เป้าหมาย ผลลัพธ์ 1. เพื่อให้ฝ่ายบริหารรับทราบถึงงบประมาณรายได้และสัดส่วนของงบประมาณรายจ่าย 1.ร้อยละของงบประมาณรายได้และสัดส่วนรายจ่ายของงบประมาณรายจ่าย ร้อยละ 80 86.14 สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย
สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัววัด เป้าหมาย ผลลัพธ์ 2. เพื่อฝ่ายผู้บริหารทราบถึงแผนงานโครงการที่สอดคล้องกับกลยุทธ์ 2.ร้อยละของแผนงานโครงการที่สอดคล้องกับกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการประจำปี ร้อยละ 90 สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย
สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัววัด เป้าหมาย ผลลัพธ์ 3. เพื่อให้ฝ่ายบริหารทราบถึงผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในปีการศึกษา 3. ร้อยละผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในปีการศึกษา ร้อยละ 70 สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย
สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัววัด เป้าหมาย ผลลัพธ์ 4. เพื่อให้ฝ่ายบริหารทราบถึงผลทดสอบระดับชาติ (O-NET) 4. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ร้อยละ 3 สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย
สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัววัด เป้าหมาย ผลลัพธ์ 5. เพื่อให้ฝ่ายบริหารทราบถึงการเพิ่มขึ้นของนักเรียนสมัครเข้าเรียนในปีการศึกษา 5. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของนักเรียนสมัครเข้าเรียนในปีการศึกษา ร้อยละ 10 ร้อยละ 13.33 สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย
สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัววัด เป้าหมาย ผลลัพธ์ 6. เพื่อให้ฝ่ายบริหารทราบเกี่ยวกับครูที่มีใบประกอบวิชาชีพครูตามมาตรฐานวิชาชีพครู 6. ร้อยละครูที่มีใบประกอบวิชาชีพครูตามมาตรฐานวิชาชีพครู ร้อยละ 80 สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย
สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัววัด เป้าหมาย ผลลัพธ์ 7. เพื่อให้ฝ่ายบริหารทราบถึงผลสำเร็จของการปฏิบัติงานนของ ระบบการจัดการเรียนรู้ ระบบช่วยเหลือนักเรียน และระบบกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 7. ร้อยละของผลสำเร็จของการปฏิบัติงานนของ ระบบการจัดการเรียนรู้ ระบบช่วยเหลือนักเรียน และระบบกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ร้อยละ 80 สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย
ตัววัดการดำเนินงาน 5 ด้าน ตัววัดผลดำเนินการ การนำองค์กร กลยุทธ์ นักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย บุคลากร การปฏิบัติงาน
4.1 ก (2) ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ 4.1 ก (2) ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ ศึกษาวิเคราะห์ ตัววัดผลการดำเนินการหมวด 1-6 รวบรวมข้อมูล สร้างเครื่องมือในการเก็บข้อมูล รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ไม่ผ่าน สมบูรณ์หรือไม่ ปรับปรุง/แก้ไข ผ่าน สรุปรายงานผล 1 ปี และเปรียบเทียบ 3 ปี
4.1 ก (3) ข้อมูลนักเรียนผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4.1 ก (3) ข้อมูลนักเรียนผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย นักเรียน งานแผนงาน ครู งานประกันคุณภาพ สำรวจความพึงพอใจ ผู้ปกครอง งานสัมพันธ์ชุมชน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย งานกิจการนักเรียน
4.1 ก (4) ความคล่องตัวของการวัดผล 4.1 ก (4) ความคล่องตัวของการวัดผล รายงานผลการดำเนินงาน การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล รายงานผลการปฏิบัติงาน (SSR) รายบุคล กลุ่มงาน รายงานประเมินตนเอง ประจำปี (SAR)
ข. การวิเคราะห์และทบทวนผลการดำเนินงาน
กำหนดยุทธศาสตร์ / ทิศทางการดำเนินงาน การวิเคราะห์และทบทวนผลการดำเนินงาน หัวหน้ากลุ่มสาระ ข้อเสนอ แนวทางแก้ไข การประชุม สรุป หัวหน้ากลุ่มงาน ทบทวน ประชุมบุคลากร วางแผน/กำหนดทิศทาง กำหนดยุทธศาสตร์ / ทิศทางการดำเนินงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ค. การปรับปรุงผลการดำเนินงาน
ค. การปรับปรุงผลการดำเนินงาน 4.1 ค (1) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เป็นเลิศ สถาบันขงจื้อ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต
ค. การปรับปรุงผลการดำเนินงาน (ต่อ) กลุ่มงานบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารงบประมาณและสินทรัพย์ กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มงานบริหารงานทั่วไป กลุ่มบริหารกิจการนักเรียน 4.1ค (2) ผลการดำเนินงานในอนาคต วิเคราะห์ผล การดำเนินงาน การถ่ายทอดความรู้ สู่การปฏิบัติ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 11 4.1ค (2) ผลการดำเนินงานในอนาคต (ต่อ) ภาพการทำ MOU สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 11
ค. การปรับปรุงผลการดำเนินงาน(ต่อ) 4.1 ค (3) การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและนวัตกรรม ขั้นตอนการดำเนินงาน โครงการ/กิจกรรม ผลงานทางวิชาการ งานวิจัย ข้อมูลสารสนเทศ สรุป เผยแพร่ Internet เว็บไซต์โรงเรียน วารสาร / ข่าว
4.2 การจัดการความรู้ สารสนเทศและ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ก. ความรู้ขององค์กร
4.2 ก (1) การจัดการความรู้ขององค์กร ศึกษาการจัดการความรู้ขององค์กร รวบรวมข้อมูลหมวดที่ 1-6 พร้อมถ่ายทอดบุคลากร ออกแบบและพัฒนาเครื่องมือในการเก็บข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล สมบูรณ์หรือไม่ สรุปรายงานผล 1 ปีและเปรียบเทียบ 3 ปี
ครู/ผู้บริหาร นักเรียน 4.2 ก (1) การจัดการความรู้ขององค์กร ครู/ผู้บริหาร อบรม/สัมมนา การศึกษาดูงาน ทัศนศึกษา/ดูงาน การทำผลงานวิชาการ งานวิจัย สื่อการสอน นักเรียน แหล่งเรียนรู้สืบค้น Online ห้องสมุดโรงเรียน ห้อง ASEN ป้ายนิเทศโรงเรียน แสดงนิทัศการผลงานวิชาการ การสอนเสริม การฝึกทักษะความรู้วิชาการ
องค์ความรู้และทรัพยากร 4.2 ก (2) การเรียนรู้ระดับองค์กร องค์ความรู้และทรัพยากร การวิเคราะห์ SWOT การวางแผนกลยุทธ์ การบริหารความเสี่ยง การทบทวนจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค การพัฒนาเว็บไซต์ Social Network ครู นักเรียน ผู้ปกครอง
ข. ข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยี
ศึกษาวิเคราะห์กระบวนการ ข้อมูลสารสนเทศ 5 ด้าน คุณภาพของข้อมูลและสารสนเทศ ความปอดภัยของข้อมูลและสารสนเทศ ความพร้อมใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ คุณลักษณะของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ความพร้อมการใช้งานในภาวะฉุกเฉิน
สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัววัด เป้าหมาย ผลลัพธ์ 1.เพื่อให้ครู บุคลากร ผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความน่าเชื่อถือในความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ 1. ระดับความน่าเชื่อถือและความปลอดภัยของสารสนเทศ ระดับ 3 สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย
สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัววัด เป้าหมาย ผลลัพธ์ 2. เพื่อให้ผู้ใช้งานของข้อมูลสารสนเทศสะดวก รวดเร็วในการเข้าถึงข้อมูล 2. ระดับความพร้อมใช้งานของระบบสารสนเทศ ระดับ 3 สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย
สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัววัด เป้าหมาย ผลลัพธ์ 3.เพื่อให้ครู บุคลากร นักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความพึงพอใจของการใช้งานข้อมูลสารสนเทศลักษณะของฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ 3. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้งานสารสนเทศลักษณะของฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ ระดับ 3 สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย
สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัววัด เป้าหมาย ผลลัพธ์ 4.เพื่อให้ครู บุคลากร นักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความเชื่อมั่นของระบบการเตรียมความพร้อมในยามฉุกเฉิน 4. ระดับประสิทธิผลของการเตรียมความพร้อมในยามฉุกเฉิน ระดับ 3 สรุป : เป็นไปตามเป้าหมาย
คุณภาพของของมูลและสารสนเทศ ความปลอดภัยและเป็นความลับ 4.2 ข (1) คุณภาพของข้อมูลสารสนเทศ คุณภาพของของมูลและสารสนเทศ ความแม่นยำ การทันเวลา ความถูกต้องเชื่อถือได้ ความปลอดภัยและเป็นความลับ
คุณภาพของข้อมูลสารสนเทศ 4.2 ข (1) คุณภาพของข้อมูลสารสนเทศ(ต่อ) คุณภาพของข้อมูลสารสนเทศ วิธีการจัดการ 1. ความแม่นยำ โรงเรียนมีการทบทวนและตรวจสอบแผนกลยุทธ์ของโรงเรียน และวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการใช้ข้อมูลว่ามีการใช้ข้อมูลใดบ้าง เพื่อประกอบการออกแบบสารสนเทศให้ครอบคลุมทุกประเด็นกลยุทธ์ และทุกกลุ่มเป้าหมายมีความแม่นยำและสามารถใช้ข้อมูลสารสนเทศได้ตรงกับความต้องการในการใช้งาน 2. การทันเวลา 1. ปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย สม่ำเสมอ 2. มีการสื่อสารโดยตรงกับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการข้อมูลและกำหนดสิทธิ์ในการพัฒนาข้อมูลให้ผู้เกี่ยวข้องโดยตรง เช่นอัพโหลดข้อมูลในของเว็บไซต์โรงเรียนhttp://www.tpp.ac.th/ 3. กำหนดระยะเวลาที่แน่นอนในการปรับปรุงข้อมูล 4. ให้สิทธิ์เครือข่ายและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องพัฒนาข้อมูลได้เองและจัดการพัฒนาทักษะอย่างต่อเนื่อง เช่น บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ให้การอบรมทักษะการใช้บล็อกเพื่อการจัดการเรียนรู้ และพัฒนาข้อมูลสารสนเทศของกลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มบริหารกลุ่มงาน เพื่อให้ข้อมูลมีความทันสมัยและทันต่อการใช้งาน
คุณภาพของข้อมูลสารสนเทศ 4.2 ข (1) คุณภาพของข้อมูลสารสนเทศ คุณภาพของข้อมูลสารสนเทศ วิธีการจัดการ 3. ความถูกต้อง เชื่อถือได้ 1. ตรวจสอบข้อมูลสารสนเทศในระบบอยู่เสมอ 2. เชื่อมโยงและอ้างอิงข้อมูลจากแหล่งข้อมูลสารสนเทศที่มีมาตรฐานและมีความน่าเชื่อถือ เช่น ข้อมูลจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ข้อมูลจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 11 เป็นต้น 4. ความปลอดภัยและเป็นความลับ จัดลำดับขั้นความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลตรงตามลักษณะผู้ใช้งาน ผู้ใช้ระบบ(User name) และรหัสผ่าน (Password) เพื่อเข้าถึงข้อมูลได้ตามสิทธิ์ที่มีโดยผู้ดูแลระบบจะเป็นผู้ควบคุม (Admin)
4.2 ข (2) ความปลอดภัยของข้อมูลสารสนเทศ
การจัดการความพร้อมของข้อมูลสารสนเทศโรงเรียน การเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ 4.2 ข (3) ความพร้อมในการใช้งานของข้อมูลสาสรสนเทศ การจัดการความพร้อมของข้อมูลสารสนเทศโรงเรียน การเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ ผู้ใช้ วิธีการเข้าถึง นำเสนอข้อมูลสารสนเทศทางอินเตอร์เน็ตบนเว็บเบราว์เซอร์ที่เป็นระบบมาตรฐานสากล สืบค้นสะดวก - กลุ่มบริหาร - กลุ่มสาระการเรียนรู้ - กลุ่มงาน - เว็บไซต์โรงเรียน http://www.tpp.ac.th/ จัดลำดับชั้นความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลตรงตามลักษณะผู้ใช้งานระบบ ผู้ใช้จะได้รับบริการโดยเข้าระบบและกรอกข้อมูลเพื่อขอรับบริการ คือ username password มีฐานข้อมูลรองรับครู นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน ฐานข้อมูลนักเรียน ครู บุคลากรโรงเรียนเป็นระบบบริหารการจัดการบุคลากร (ระบบสแกนบัตรนักเรียนและระบบสแกนนิ้วมือบุคลากร)
4.2 ข (4) ลักษณะของฮาร์ดแวร์และวอฟแวร์ ประเภทอุปกรณ์และข้อมูลสารสรเทศ วิธีการทบทวน และปรับปรุงระบบสารสนเทศและ อุปกรณ์ให้เหมาะสมและทันสมัย 1. ฮาร์ดแวร์ ตรวจสอบสภาพการใช้งาน ให้มีสภาพใช้งานได้เป็นปกติ มีการสำรองอะไหล่และอุปกรณ์ประกอบให้เพียงพอ ศึกษาข้อมูลเพื่อปรับปรุงอุปกรณ์ให้ทันสมัยอยู่เสมอ 2. ซอฟต์แวร์ อัปเดตเวอร์ชั่นของซอฟต์แวร์ที่ใช้งานให้ทันสมัย 3. เครือข่าย Internet มีวงจรเครือข่ายให้บริการ Internet 3 เครือข่าย คือ TOT, Uninet, และ 3bb 4. ฐานข้อมูล มอบหมายผู้รับผิดชอบฐานข้อมูลเป็นการเฉพาะ โดยควบคุม กำกับ ติดตามการทบทวน ปรับปรุงฐานข้อมูลให้ทันสมัยเสมอ 5. ระบบสารสนเทศ ประเมินความพึงพอใจในการใช้ระบบสารสนเทศ เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนาการออกแบบระบบสารสนเทศให้เหมาะสม ทันสมัย และสร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ
ด้านซอฟแวร์ ด้านระบบเครือข่าย ด้านข้อมูลสารสนเทศ ด้านฮาร์ดแวร์ 4.2 ข (5) ความพร้อมของภาวะฉุกเฉิน มี Server สำรองสำหรับจัดเก็บข้อมูล อุปกรณ์ UPS สำรองกรณีไฟฟ้าดับหรือไฟฟ้าตก ด้านฮาร์ดแวร์ มีระบบ Firewall ป้องกันการสูญหายหรือข้อมูลถูกทำลาย ด้านซอฟแวร์ วงจรเครือข่ายให้บริการ Internet 3 เครือข่าย คือ TOT, Uninet, และ 3bb ด้านระบบเครือข่าย มี Server สำรองสำหรับจัดเก็บข้อมูล (Back up)อย่างเพียงพอ มีระบบการจัดการข้อมูลสารสนเทศไว้บน Cloud ของโรงเรียน ด้านข้อมูลสารสนเทศ
สวัสดี