บำบัดรักษาฟื้นฟูผู้ติดยาและสารเสพติด แนวคิดการดำเนินงาน บำบัดรักษาฟื้นฟูผู้ติดยาและสารเสพติด นายแพทย์วิโรจน์ วีรชัย ผู้อำนวยการสถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติ บรมราชชนนี 1
ทัศนคติต่อผู้เสพยาเสพติด ในอดีต การเสพยาเป็นความผิด - ใช้มาตรการลงโทษ มากกว่า การบำบัดรักษาและแก้ไขพฤติกรรม - มองคนเสพยา เป็น “คนชั่ว” สร้างความเดือดร้อนต่อสังคม - การบัญญัติกฎหมายรุนแรง ลงโทษจำคุก 2
บทเรียนจากการดำเนินงานที่ผ่านมา “ปัญหายาเสพติดไม่ได้ลดน้อยลง” ผู้ใช้ยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ราคายาบ้าแพงมากขึ้น ผู้ค้าเพิ่มมากขึ้น ผู้ต้องขังคดียาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ผู้ป่วยระบบบังคับบำบัดเพิ่มมากขึ้น ขณะที่สถานฟื้นฟู ไม่เพียงพอ การบำบัดฟื้นฟูอยู่ในการดูแลของสำนักงานคุม ประพฤติมากเกินศักยภาพ “ปัญหายาเสพติดไม่ได้ลดน้อยลง” 3
สมดุลของแนวคิดกับการปฏิบัติ ผู้ใช้ยาเสพติดเป็นผู้ป่วยจริงหรือไม่? เป็นการเจ็บป่วยที่รัฐควรดูแลเพียงใด 3. การดูแลแบบลงโทษ บังคับบำบัด ลดปัญหาหรือเพิ่มปัญหา? First, Do No Harm ธรรมาภิบาล กับ ความคุ้มค่า 5. ควรเพิ่มโทษหรือควรลดโทษอาญาผู้ใช้ยา? Cost Effective
รู้จักโรคสมองติดยา 5
มาตรการทางกฏหมายเพื่อตอบสนองเจตนารมณ์ 1.ฐานเสพ 2.ฐานเสพและมีไว้ในครอบครอง บำบัดรักษาโดยสมัครใจและ กึ่งสมัครใจตามมาตรการสังคม/ กฏหมาย 3.ฐานเสพมีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่าย 4.ฐานเสพและจำหน่าย บังคับบำบัด ระบบต้องโทษ ใช้มาตรการทางสาธารณสุขนำ แทน การลงโทษความผิด
เป้าหมายการดำเนินงานปี 2560 ทั่วประเทศ (220,000 ราย) นโยบายประชารัฐ จัดระเบียบสังคม ตั้งด่านบูรณาการ จูงใจค้นหา มาตรการเชิงบวก ไม่กวาดล้าง/จับกุม/ทำตามเป้า ยกเลิกรางวัลนำจับผู้เสพ ระบบสมัครใจ 74,000 ราย คสช. 108 53,300 ราย ไม่ยินยอม ระบบบังคับบำบัด 72,500 ราย ระบบต้องโทษ 20,200 ราย Education รพช. ๗๘๓ แห่ง รพ.สต. ๙,๗๖๐ แห่ง ผู้ใช้ V2=2-3 1.เสพ ** 2.เสพและมีไว้ในครอบครอง** 3.เสพและครอบครองเพื่อจำหน่าย 4.เสพและจำหน่าย ยินยอม รอตรวจพิสูจน์ (กรมราชทัณฑ์) กรมพินิจ กรมราชทัณฑ์ 70% BI,MI, Mod. Matrix รพท, รพท. รพศ. ผู้เสพ V2=4-26 *ศูนย์เพื่อการคัดกรองส่งต่อฯ และให้ BI ๙๔๑ แห่ง (รพ. ๖๑๔ , อำเภอ ๒๐๘, สสอ.๑๐๓) *คณะอนุกรรมการ ฟื้นฟูฯ MET,CBT,Matrix รพช. ๗๘๓ แห่ง รพท. ๘๓ แห่ง รพศ. ๓๐ แห่ง สถานฟื้นฟูจังหวัด/เขต ** ผู้ติด V2=27+ 30% * ไม่ควบคุมตัว 41,000 ราย ควบคุมตัว 31,500 ราย วิกฤติ ฉุกเฉิน Emergency Treatment รพ. A ,S เรื้อรัง/มีโรคแทรกซ้อน เข้มงวด ( คป) ลาดหลุมแก้ว ปัตตานี * สมุทรปราการ * ทอ. ๑๓ แห่ง ไม่เข้มงวด ( สธ ) กรมการแพทย์ ๗ แห่ง กรมสุขภาพจิต ๑๓ แห่ง พหุภาคี ทบ. ๓๕ แห่ง ทร. ๔ แห่ง ปค. ๗ แห่ง ตร. ๑ แห่ง, กท. ๓ แห่ง เรื้อรัง ซั้บซ้อน กรมการแพทย์ ๗ แห่ง กรมสุขภาพจิต ๗ แห่ง โรคทางจิตเวช Psychotic treatment รพ.ศ. ที่มีจิตแพทย์ กรมสุขภาพจิต ๑๓ แห่ง กรมการแพทย์ ๔ แห่ง
นโยบายการดำเนินงานด้านการแก้ไขปัญหา ผู้เสพผู้ติดยาเสพติด ในบทบาทกระทรวงสาธารณสุข
ทิศทางการดำเนินงาน ปรับทัศนคติของสังคมและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง การบำบัดฟื้นฟูมีความหลากหลาย ไม่จำกัดเฉพาะการแพทย์ บทบาทของชุมชน ครอบครัว ต้องเข้าใจและมีส่วนร่วม สถานพยาบาลจัดตั้งตามกฏหมาย มีคุณภาพมาตรฐาน บุคลากรต้องมีความรู้ ความเข้าใจ เฉพาะด้าน มีการพัฒนาต่อเนื่อง และใช้หลักฐานทางวิชาการ
สมดุลของแนวคิดกับการปฏิบัติ ผู้ใช้ยาเสพติดเป็นผู้ป่วยจริงหรือไม่? จริง เป็นการเจ็บป่วยที่รัฐควรดูแลเพียงใด ร่วมกัน ผู้ป่วยครอบครัว รัฐ 3. การดูแลแบบลงโทษ บังคับบำบัด ลดปัญหาหรือเพิ่มปัญหา? First, Do No Harm ธรรมาภิบาล กับ ความคุ้มค่า 5. ควรเพิ่มโทษหรือควรลดโทษอาญาผู้ใช้ยา? Cost Effective
ขอบคุณครับ