Achieving equity for every children in Thailand

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
Advertisements

รศ.ดร.จิตตินันท์ เดชะคุปต์ สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
ผู้วิจัย รจนา บัวนัง หลักสูตร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ปีการศึกษา 2553
สาเหตุการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชนหญิง ในลักษณะความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย ศึกษาเฉพาะกรณีศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนหญิงบ้านปราณี ผู้วิจัย สุวาทินี
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
ความเท่าเทียม เพื่อเด็กไทยทุกคน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระดับความเสี่ยง (QQR)
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
เป้าหมายโภชนาการระดับโลก พ.ศ.2568 (WHA Global Nutrition Targets 2025)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Achieving equity for every children in Thailand Key findings from Multiple Indicator Cluster Survey 2015-2016

Key issues Nutrition status and breastfeeding Early childhood development Primary and secondary school attendance Children not living with father and mother Teen pregnancy Knowledge about HIV/AIDS and accepting attitude

1.5% 6.7% about 250,000 children Moderate and severe 6.7% of children under 5 year-old or about 250,000 children are moderately and severely underweight. 1.5% 6.7% Moderate and severe * ภาวะโภชนาการของเด็ก เป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นสุขภาพโดยรวมของเด็ก เมื่อเด็กได้รับอาหารเพียงพอ ไม่เจ็บป่วยบ่อยๆ และได้รับการดูแลอย่างดี เด็กจะมีการเจริญเติบโต อย่างสมส่วน และถือว่าได้รับการเลี้ยงดูอย่างดี * * เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ คือ การลดสัดส่วนของผู้ได้รับความทุกข์ทรมานอันเนื่องจากความหิวลงครึ่งหนึ่งระหว่าง พ.ศ. 2533-2558 การลดลงของความชุกของภาวะโภชนาการ จะช่วยให้บรรลุเป้าหมายการลดอัตราการตายของเด็ก น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ดูได้จากน้ำหนักเทียบกับอายุ เด็กที่มีน้ำหนักเทียบกับอายุต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานและมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานต่ำกว่า -2 ถือว่ามีน้ำหนักต่ำกว่ามาตรฐานปานกลางและรุนแรง เด็กที่มีน้ำหนักเทียบกับอายุต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานและมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานต่ำกว่า -3 ถือว่ามีน้ำหนักต่ำกว่ามาตรฐานรุนแรง อ้างอิงตามข้อมูลจำนวนประชากร พ.ศ.2558 โดยกรมการปกครอง 6.7% ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 5 ปี = 246,355 คน 1.5% ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 5 ปี = 55,154 คน * Based on 2015 data from Department of Public Administration

11.8% 13.6% 9.8% 8.7% 10.5% of children under 5 year-old in Thailand or about 390,000 children are moderately and severely stunted. Most of them are in Southern and Central regions of Thailand จากการสำรวจ มีเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีที่มีภาวะทุพโภชนาการเรื้องรังปานกลางและรุนแรง อยู่ในภาคกลางและภาคใต้ คิดเป็นจำนวนประมาณกว่า 9แสนคน ภาวะทุพโภชนาการเรื้อรัง(เตี้ย, แคระแกร็น) ดูได้จากความสูงเทียบกับอายุ เด็กที่มีความสูงเทียบกับอายุต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานและมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานต่ำกว่า -2 ถือว่าเตี้ยและจัดอยู่ในกลุ่มทุพโภชนาการเรื้อรัง ปานกลางและรุนแรง เด็กมีความสูงเทียบกับอายุต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานและมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานต่ำกว่า -3 ถือว่าอยู่ในกลุ่มภาวะทุพโภชนาการเรื้อรังรุนแรง อ้างอิงตามข้อมูลจำนวนประชากร พ.ศ.2558 โดยกรมการปกครอง 10.5% ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 5 ปี = 246,355 คน 1.5% ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 5 ปี = 55,154 คน * Based on 2015 data from Department of Public Administration

are moderately and severely wasted 5.4% of children under 5 year-old in Thailand or about 200,000 are moderately and severely wasted 8.2% of children under 5 year-old in Thailand or about 300,000 are overweight ภาวะทุพโภชนาการเฉียบพลัน (ผอม) ดูได้จากน้ำหนักเทียบกับความสูง เด็กที่มีน้ำหนักเทียบกับความสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานและมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานต่ำกว่า -2 ถือว่า ผอม และจัดอยู่ในกลุ่มทุพโภชนาการเฉียบพลันปานกลางและรุนแรง เด็กที่มีน้ำหนักเทียบกับความสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานและมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานต่ำกว่า -3 ถือว่าอยู่ในกลุ่มภาวะทุพโภชนาการเฉียบพลันรุนแรง ภาวะทุพโภชนาการเกิน (อ้วน) ดูได้จากน้ำหนักเทียบกับความสูง เด็กที่มีน้ำหนักเทียบกับความสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานและมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานมากกว่า +2 ถือว่า อ้วน * Based on 2015 data from Department of Public Administration

23.1% of children under 6 months received exclusive breastfeeding เป้าหมายยุทธศาสตร์ทางโภชนาการ ปี 2568 จากที่ประชุมสมัชชาอนามัยโลกคือส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพียงอย่างเดียวในช่วงอายุ 0-6 เดือน ให้มีอัตราไม่ต่ำกว่า 50% (ปัจจุบันค่าเฉลี่ยทั่วโลกอยู่ที่ 39% อ้างอิงจากรายงาน World Health Statistics 2016 ขององค์การอนามัยโลก http://www.who.int/gho/publications/world_health_statistics/2016/en/) การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การเลี้ยงดูเด็กด้วยนมแม่ในช่วง 1-2 ปีแรก จะช่วยป้องกันเด็กจากการติดเชื้อ เพราะเด็กได้รับอาหารที่มีประโยชน์ต่อการเจริญเติบโต ประหยัดและปลอดภัย อย่างไรก็ตามมีแม่จำนวนมากหย่านมเด็กเร็วเกินไป และเปลี่ยนไปให้นมผงสำเร็จรูปแก่เด็กแทน ซึ่งการกระทำเช่นนี้อาจเป็นสาเหตุให้การเจริญเติบโตของเด็กหยุดชะงักและเกิดภาวะทุพโภชนาการ เนื่องจากขาดสารอาหารที่ช่วยในการเจริญเติบโตของเด็ก สำหรับการใช้นมผงเลี้ยงดูเด็กอาจไม่ปลอดภัยหากไม่มีน้ำสะอาดใช้ องค์การอนามัยโลก/ยูนิเซฟ กำหนดข้อแนะนำในการเลี้ยงลูก โดยเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในช่วง 6 เดือนแรกหลังคลอด การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในช่วง 1-2 ปีแรก มีประโยชน์หลายประการ เช่น 1) จะช่วยป้องกันเด็กจากการติดเชื้อ เพราะเด็กได้รับสารอาหารที่สะอาด ปลอดภัย และมีประโยชน์ต่อการเจริญเติบโต 2) ก่อให้เกิดสายใยสัมพันธ์ทั้งทางกายภาพและอารมณ์ระหว่างแม่กับลูก 3) ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายของครัวเรือน องค์การอนามัยโลก กำหนดข้อแนะนำในการเลี้ยงลูก ดังนี้ ให้ลูกกินนมแม่ภายในชั่วโมงแรกหลังคลอด เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในช่วง 6 เดือนแรกหลังคลอด ให้ลูกกินนมแม่ต่อไปเป็นเวลา 2 ปี หรือมากกว่านั้น ให้อาหารเสริมที่ปลอดภัย เหมาะสม และเพียงพอ เมื่ออายุ 6 เดือน

Public health facility has higher rate of infants receiving breastfeeding within first hour of delivery than private health facility. 42.0% 24.8%

Public health facility has higher rate of infants receiving breastfeeding within first day of delivery than private health facility. องค์การอนามัยโลก กำหนดข้อแนะนำในการเลี้ยงลูก ดังนี้ ให้ลูกกินนมแม่ภายในชั่วโมงแรกหลังคลอด เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในช่วง 6 เดือนแรกหลังคลอด ให้ลูกกินนมแม่ต่อไปเป็นเวลา 2 ปี หรือมากกว่านั้น ให้อาหารเสริมที่ปลอดภัย เหมาะสม และเพียงพอ เมื่ออายุ 6 เดือน 80.9% 54.7%

34.0% 62.8% Mothers engage in activities that promote learning with their children more than fathers. * ช่วงระยะ 3-4 ปี ของชีวิต เป็นช่วงที่สมองของเด็กมีการพัฒนาเร็วที่สุด และการเลี้ยงดูภายในบ้านเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดในการพัฒนาของเด็กในวัยนี้ ดังนั้น กิจกรรมระหว่างผู้ใหญ่และเด็ก หนังสือสำหรับเด็กในบ้าน และสภาพการเลี้ยงดูทางบ้าน เป็นตัวชี้วัดที่สำคัญของการเลี้ยงดูเด็ก เป้าหมายของโลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก คือ “ เด็กควรมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ความคิดอ่านที่ว่องไว มีอารมณ์มั่นคง สามารถดำรงตนอยู่ในสังคมได้ และพร้อมที่จะเรียนรู้” * ร้อยละ 92.7 ของเด็กมีสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นผู้ใหญ่ร่วมทำกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และเตรียมความพร้อมในการเข้าโรงเรียนอย่างน้อย 4 กิจกรรมจาก 6 กิจกรรม โดยพบว่า แม่มีส่วนร่วมทำกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และเตรียมความพร้อมในการเข้าโรงเรียนมากกว่าพ่อเกือบ 2 เท่า

Mothers with higher education engage in activities that promote learning with their children than mothers with no education ปัจจัยที่มีผลต่อการร่วมทำกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้กับลูก ระดับการศึกษาของมารดา ในขณะที่เกือบ 9 ใน 10 ของคุณแม่ที่จบการศึกษาสูงกว่ามัธยมศึกษาร่วมทำกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้กับลูก มีเพียงแค่ 4 ใน 10 ของคุณแม่ที่ไม่มีการศึกษาที่ร่วมทำกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้กับลูก 88.8% 40.2%

Household in richest quintile engage in activities that promote learning with the children more than household in poorest quintile. 45.6% 24.7% 87.1% 51.9% ปัจจัยที่มีผลต่อการร่วมทำกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้กับลูก ฐานะครอบครัว ครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวยมาก มีอัตราการร่วมทำกิจกรรมของพ่อแม่กับลูกมากกว่าครอบครัวที่มีฐานะยากจนมากประมาณ 2 เท่า

Early childhood education programme attendance 75.4% 94.1% 36-47 Months 48-59 Months การพัฒนาเด็กในช่วงปฐมวัยเป็นรากฐานของการพัฒนามนุษย์ ด้วยเหตุนี้ รัฐบาลไทยจึงตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาเด็กและเยาวชน ฉะนั้น เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2550 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาเด็กปฐมวัย (0-5 ปี) ระยะยาว พ.ศ. 2550-2559 และได้มอบหมายให้กระทรวงต่าง ๆ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมรับผิดชอบในการนำนโยบายสู่การปฏิบัติให้เกิดผลเป็นรูปธรรม โดยมุ่งพัฒนาให้เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ สังคม และจริยธรรม พบความแตกต่างที่ชัดเจนเมื่อพิจารณาตามอายุของเด็ก ดังนี้ เด็กในช่วงปฐมวัย อายุระหว่าง 48-59 เดือนส่วนใหญ่ เข้าเรียนในหลักสูตรปฐมวัย แต่เด็กอายุระหว่าง 36-47 เดือน ยังมีอัตราการเข้าเรียนหลักสูตรปฐมวัยเพียงประมาณ 7 ใน 10

Primary school attendance การได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึงและการสำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาของเด็กทั่วโลก เป็นเป้าหมายที่สำคัญประการหนึ่งของเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ การศึกษาเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งในการต่อสู้กับความยากจน การสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้หญิง การปกป้องเด็กจากความโหดร้ายและการแสวงหาประโยชน์จากแรงงานเด็ก รวมทั้งการถูกล่วงละเมิดทางเพศ การส่งเสริมสิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตย การปกป้องสิ่งแวดล้อม และมีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของประชากร ในประเทศไทย เด็กเข้าเรียนในระดับประถมศึกษาเมื่ออายุ 6 ปี และระดับมัธยมศึกษาเมื่ออายุ 12 ปี ทั้ง 2 ระดับนี้แบ่งการศึกษาออกเป็นระดับละ 6 ชั้น (ประถมศึกษาปีที่ 1-6 และ มัธยมศึกษาปีที่ 1-6) โดยปกติ โรงเรียนเปิดภาคการศึกษาในเดือนพฤษภาคม และสิ้นสุดในเดือนกุมภาพันธ์ปีถัดไป สำหรับเด็กวัยเริ่มเข้าเรียนระดับประถมศึกษา (อายุ 6 ปี) ในประเทศไทย พบว่า อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับประถมศึกษาโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 94.8% แต่มีข้อสังเกตคือ เด็กอายุ 6 ปี มีเพียง 75.7% ที่ได้เข้าเรียนระดับประถมศึกษาตามเกณฑ์อายุ ในขณะที่มี 22.5% กำลังเรียนระดับอนุบาล

3.1% 13.1% 4.7% 10.4% Higher education No education Out of school Thai Mother’s education Out of school สวัสดี แม่ไม่ได้รับการศึกษา จะมีแนวโน้มที่เด็กจะออกจากโรงเรียนประถมมากกว่าแม่ที่มีการศึกษาสูงกว่ามัธยมศึกษา เช่นเดียวกัน ในครอบครัวที่หัวหน้าครอบครัวไม่ได้พูดภาษาไทย จะมีแนวโน้มที่เด็กจะออกจากโรงเรียนประถมมากกว่าครอบครัวที่หัวหน้าครอบครัวพูดภาษาไทย Language of household head Thai Non-Thai 4.7% 10.4%

Secondary school attendance อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับมัธยมศึกษาโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 81% และเป็นที่สังเกตว่าเด็กอายุ 12 ปี ยังมีเพียง 73.6% ที่ได้เข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาตามเกณฑ์อายุ โดย 23.9% ยังเรียนอยู่ในระดับประถมศึกษา ข้อสังเกตอีกอย่างคือ แนวโน้มของเด็กที่ได้เข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาลดลงเมื่ออายุของเด็กมากขึ้น

Children not living with father and mother 32.0% 8.7% Children not living with father and mother Household in poorest quintile Household in richest quintile อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (CRC) ตระหนักดีว่าเพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาบุคลิกภาพของเด็กอย่างสมบูรณ์และความสมัครสมานสามัคคี เด็กควรจะเติบโตในสภาพครอบครัวที่มีความรักและความเข้าใจกันเพื่อให้เกิดบรรยากาศของความสุข เด็กนับล้านคนทั่วโลกเติบโตโดยไม่ได้รับการดูแลจากพ่อแม่จากหลายสาเหตุ รวมทั้งการที่พ่อและแม่ได้เสียชีวิตก่อนวัยอันควรหรือต้องย้ายที่อยู่เพื่อไปทำงาน โดยส่วนใหญ่เด็กเหล่านี้จะได้รับการดูแลจากสมาชิกอื่น ๆ ของครอบครัว ขณะที่เด็กส่วนที่เหลืออาจจะอาศัยอยู่ในครัวเรือนของคนอื่นหรือเป็นลูกจ้างทำงานบ้าน การทำความเข้าใจเกี่ยวกับการอยู่อาศัยของเด็ก รวมทั้งองค์ประกอบของครัวเรือนที่พวกเขาอาศัยอยู่ด้วยและความสัมพันธ์ของพวกเขากับผู้ดูแลหลัก เป็นสิ่งสำคัญในการกำหนดมาตรการเข้าไปแทรกแซงโดยมุ่งหวังให้การสนับสนุนดูแลและความอยู่ดีกินดีของเด็ก ครอบครัวที่มีฐานะยากจนมาก จะมีแนวโน้มที่เด็ก ๆ จะไม่ได้อยู่กับพ่อและแม่ (ทั้งที่พ่อและแม่ยังมีชีวิตยู่) มากกว่าครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวยมาก

Teen pregnancy Northern By education level 3 104 72 per 1,000 women Higher than secondary Primary 3 per 1,000 women 104 National average อัตราการตั้งครรภ์วัยรุ่นเฉลี่ยทั่วประเทศอยู่ที่ 51 คนต่อ 1,000 คน แต่กลุ่มที่น่าเป็นห่วงคือ ภาคเหนือ ซึ่งมีอัตราการตั้งครรภ์วัยรุ่นสูงกว่าค่าเฉลี่ยทั่วประเทศ อยู่ที่ 72 คนต่อ 1,000 คน และ กลุ่มเด็กวัยรุ่นหญิงที่ไม่มีการศึกษา ซึ่งมีอัตราการตั้งครรภ์สูงถึง 104 คนต่อ 1,000 คน

HIV/AIDS Only half (49%) of male and female aged 15-49 years old who have heard of AIDS have comprehensive knowledge about HIV หนึ่งในตัวชี้วัดที่เป็นตัวชี้วัดของ MDG และ GARPR (เดิมคือ UNGASS) คือ ร้อยละของผู้ที่อายุยังน้อยที่มีความรู้ความเข้าใจเป็นอย่างดีและถูกต้องเกี่ยวกับการป้องกันและการแพร่เชื้อเอชไอวี นั่นคือ 1) ทราบว่าการใช้ถุงยางอนามัยระหว่างมีเพศสัมพันธ์และมีเพศสัมพันธ์กับคู่ครองที่ไม่ติดเชื้อและซื่อสัตย์เพียงคนเดียวสามารถลดการติดเชื้อเอชไอวีได้ 2) ทราบว่าผู้ที่ดูว่ามีสุขภาพดีอาจมีเชื้อเอชไอวีได้ และ 3) มีความเข้าใจถูกต้องเกี่ยวกับการแพร่เชื้อที่มักเข้าใจผิดทั้ง 2 ข้อ ที่คนส่วนใหญ่ในประเทศไทยมักเข้าใจผิด คือ สามารถแพร่เชื้อเอชไอวีจากการถูกยุงกัดและการรับประทานอาหารร่วมกับคนเป็นเอดส์

By education and language of household head Secondary or higher No education Knowledge about HIV By education and language of household head 64.0% 62.6% 10.6% 14.8% สวัสดี ผู้ที่ได้รับการศึกษาตั้งแต่มัธยมขึ้นไปจะมีแนวโน้มที่จะมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเชื้อเอชไอวีเป็นอย่างดีมากกว่า (มากกว่า 50% สำหรับการศึกษาระดับมัธยม และมากกว่า 60% สำหรับการศึกษาสูงกว่ามัธยม) เมื่อเทียบกับผู้ที่ไม่ได้รับการศึกษา และครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนพูดภาษาไทย จะมีแนวโน้มที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเชื้อเอชไอวีเป็นอย่างดีมากกว่าครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนไม่ได้พูดภาษาไทย Thai Non-Thai 51.1% 50.7% 24.5% 24.6%

Thank you