ารวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จตุภูมิ เขตจัตุรัส คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น jketcha@kku.ac.th
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จตุภูมิ เขตจัตุรัส ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จตุภูมิ เขตจัตุรัส สาขาการวัดและประเมินผลทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ค.ด.การวัดและประเมินผลการศึกษา , จุฬาฯ) ประสบการณ์ ข้าราชการครู อาจารย์มหาวิทยาลัย ความเชี่ยวชาญ การวัดและประเมินผลการศึกษา การวิจัยและสถิติทางการศึกษา การประเมินโครงการ อีเมล์ jketcha@kku.ac.th โทร 089-4786077
ทำไมต้องมีการวัดและประเมินผลฯ ระดับอุดมศึกษา ที่มาภาพ http://www.vwmin.org/ 3
ทำไมต้องมีการวัดและประเมินผลฯ ระดับอุดมศึกษา ที่มาภาพ http://tlweb.latrobe.edu.au/education/learning-materials/lesson-planning/lessonplanning060.html 4
การประเมินการเรียนรู้ 5
เราต้องวัดและประเมินผลอะไรบ้างจากนักศึกษา???? 6 ที่มาภาพ http://www.slideshare.net/jmonsakul/21st-century-trends-in-higher-education-teaching-learning-and-research
เราใช้วิธีการวัดและประเมินผลอะไรบ้าง ที่มาภาพ http://etec.ctlt.ubc.ca/510wiki/Assessment_of_Learning 7
เราใช้วิธีการวัดและประเมินผลอะไรบ้าง 8
เราจะวัดและประเมินผลอย่างไรให้มีความน่าเชื่อถือได้???? มีความเที่ยงตรง (Validity) – วัดได้ในสิ่งที่ต้องการวัด มีความน่าเชื่อถือ (Reliability) – มีผลการวัดที่คงที่ แน่นอน มีความยากง่ายพอเหมาะ (Difficulty) – เครื่องมือวัดที่ดีควรมีค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับหรือสูงกว่าร้อยละ 50 เล็กน้อยของ คะแนนเต็ม มีอำนาจจำแนก (Discrimination) – สามารถแยกผู้สอบออกระหว่างเก่งอ่อน มีความยุติธรรม (Fairness) – ไม่ก่อให้เกิดการได้เปรียบเสียเปรียบต่อกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง มีความเป็นปรนัย (Objectivity) – มีความชัดเจน ตรวจ แปลคะแนนได้ตรงกัน เป็นที่ยอมรับได้ (Acceptability) – เป็นที่ยอมรับของผู้เข้าสอบ/ผู้ถูกประเมิน 9
เราควรมองเชื่อมโยงระหว่าง ผลลัพธ์การเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ และการประเมินผล ที่มาภาพ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร http://www.slideshare.net/TarBt/tqf-id 10
เราควรมองเชื่อมโยงระหว่าง ผลลัพธ์การเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ และการประเมินผล ที่มาภาพ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร http://www.slideshare.net/TarBt/tqf-id 11
เราควรมองเชื่อมโยงระหว่าง ผลลัพธ์การเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ และการประเมินผล ที่มาภาพ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร http://www.slideshare.net/TarBt/tqf-id 12
เราควรมองเชื่อมโยงระหว่าง ผลลัพธ์การเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ และการประเมินผล ที่มาภาพ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร http://www.slideshare.net/TarBt/tqf-id 13
เราควรมองเชื่อมโยงระหว่าง ผลลัพธ์การเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ และการประเมินผล ที่มาภาพ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร http://www.slideshare.net/TarBt/tqf-id 14
เราควรมองเชื่อมโยงระหว่าง ผลลัพธ์การเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ และการประเมินผล ที่มาภาพ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร http://www.slideshare.net/TarBt/tqf-id 15
เราควรมองเชื่อมโยงระหว่าง ผลลัพธ์การเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ และการประเมินผล ที่มาภาพ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร http://www.slideshare.net/TarBt/tqf-id 16
เราควรมองเชื่อมโยงระหว่าง ผลลัพธ์การเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ และการประเมินผล ที่มาภาพ ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร http://www.slideshare.net/TarBt/tqf-id 17
การประเมินตามสภาพจริง 18
19
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเพื่อพัฒนาโดยดิจิตัล (Digital Formative Assessment Tools) http://www.ourict.co.uk/formative-assessment-tools/ 20
เป็นแอพลิเคชั่น (application) ที่ใช้ในการประเมินเพื่อพัฒนา ใช้ในการให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นด้วยการฝากข้อความ (Note) แปะไว้เหมือนโน้ตหรือโพสต์อิท (Post it) เกี่ยวกับบทเรียนที่พวกเขาได้เรียนรู้ไปแล้วว่าเข้าใจหรือไม่ อย่างไร หรือมีข้อสงสัยอะไร นำมาแปะไว้บนกระดาน/ผ้าใบ ขั้นตอนครูผู้สอนจะสร้างผ้าใบ (Canvas) แล้วกำหนดประเด็นต่างๆ เพื่อให้นักเรียนนำโพสต์ข้อความมาแปะไว้ เพื่อแสดงความเข้าใจของพวกเขา ผ้าใบอาจตั้งเป็น "สาธารณะ", "ส่วนตัว" หรือเข้าถึงได้เฉพาะ "เพื่อน" เท่านั้น หรืออาจตั้งไว้ให้สำหรับนักเรียนที่ลงทะเบียนไว้เท่านั้น ที่จะสามารถดูและโพสต์ข้อความได้ ประโยชน์ ถ้าครูผู้สอนกำลังต้องการให้ข้อมูลย้อนกลับทันที (real time feedback) หรือนักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นเมื่อพวกเขาอยู่ที่บ้าน หรือให้ข้อแนะนำครูผู้สอนเกี่ยวกับวิธีการแก้ไขสื่อการเรียนสำหรับบทเรียนต่อไปได้ 21
เป็นแอพลิเคชั่น (application ที่สามารถใช้ได้บน iPad หรือ iPhone ได้ สำหรับการสร้างและตรวจข้อสอบปรนัยหลายตัวเลือก (multiple choices) โดยการสแกนกระดาษคำตอบด้วยกล้องบนอุปกรณ์ Apple มันสามารถตรวจให้คะแนนแบบทดสอบทั้งชั้นเรียนได้ภายในเวลาไม่กี่นาทีซึ่งจะช่วยประหยัดเวลา และให้ผลย้อนกลับไปที่นักเรียนได้ทันทีเพื่อปรับปรุง ผลที่ได้จะเห็นการเรียนรู้ในภาพรวม และสามารถดูผลการตอบของนักเรียนเป็นรายบุคคลได้ 22
(เว็บไซต์ http://popplet (เว็บไซต์ http://popplet.com/) เป็นแอพลิเคชั่น (application) ที่ใช้จัดการความคิดออกมาในลักษณะต่างๆ (Graphic Organizer) สามารถนำมาใช้เมื่อต้องการจดบันทึกความคิดและการจัดระเบียบความคิดให้ง่ายขึ้นเป็นแผนที่ความคิด (mind map) กราฟ หรืออารมณ์ๆ สำหรับการประเมินการจัดทำแผนที่ความคิดหรือเครื่องมือระดมสมองถือว่าเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง แอพลิเคชั่นนี้สามารถช่วยให้ครูผู้สอนสามารถตรวจสอบความคิด ความเข้าใจของผู้เรียนในหัวข้อต่างๆที่สอนได้ 23
Socrative (เว็บไซต์ https://www.socrative.com/) ลักษณะคล้ายกับ Popplet ช่วยทำให้เห็นความเข้าใจของนักเรียนที่มีต่อหัวข้อของบทเรียน ครูผู้สอนสามารถสร้างแบบทดสอบบนอุปกรณ์ต่างๆไม่ว่าจะเป็นอินเทอร์เน็ตแล็ปท็อป แท็บเล็ตหรือสมาร์ทโฟน ครูสามารถตรวจสอบคำตอบของผู้เรียนในภาพรวมของชั้น หรือนักเรียนเป็นรายบุคคลได้ และยังสามารถรายงานผลในรูปแบบต่างๆตามความต้องการเพื่อให้ข้อมูลย้อนกลับในการปรับปรุงการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนของครูได้ 24
Kahoot (เว็บไซต์ https://getkahoot.com/) เป็นเว็บไซต์ที่เอื้อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ร่วมกันในการเรียนโดยใช้การทดสอบในลักษณะเกม คำถามและคำตอบจะถูกฉายบนหน้าจอในห้องเรียนและนักเรียนส่งคำตอบของตนโดยใช้อุปกรณ์เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตของตัวเอง จุดเด่นของเว็บนี้คือ ดึงดูดความสนใจของชั้นโดยใช้สีสันสดใสและเพลงที่จะเพิ่มความลุ้นระทึกไปกับแบบทดสอบ 25
26
ขั้นตอนของการให้ข้อมูลย้อนกลับมาใช้ตามขั้นตอนของ กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ ขั้นสอน ขั้นสรุป การให้ข้อมูลย้อนกลับ - ครูและนักเรียนสะท้อนผล ประเมิน ตนเอง การให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อ กระตุ้นความก้าวหน้าในการเรียน - การเสริมแรงเพื่อการปรับปรุงพัฒนาเรียนรู้ต่อยอด -ภาระงาน -กระบวนการภาระงาน -การควบคุมตนเอง -การเป็นตัวตนของตนเอง การตรวจสอบความเข้าใจ -การสังเกต ซักถาม -การพูด การนำเสนอ -การเขียน -กระบวนการทำงาน -โครงงาน กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ -การสังเกต -ซักถาม -การแสดงออก -กิจกรรม Feed up Feed back Check for understanding Feed forward 27
28 วิธีการให้ข้อมูลย้อนกลับตามกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน การให้ผลสะท้อนกลับเกี่ยวกับผลงาน (task) ว่าผลงานที่ปฏิบัติดีหรือไม่ ถูกต้องหรือไม่ เช่นการแก้โจทย์ปัญหาข้อนี้ถูกต้อง หรือการแก้โจทย์ปัญหาข้อนี้ผิด 2) การให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับกระบวนการ (process) ว่ากระบวนการที่ใช้ในการปฏิบัติงานมีข้อบกพร่องอย่างไร จะแก้ข้อบกพร่องของกระบวนการอย่างไร มีทางเลือกในการปฏิบัติงานด้วยวิธีอื่นหรือไม่ เช่น นักเรียนลองตรวจสอบดูใหม่ซิ ว่าการแก้โจทย์ปัญหาข้อนี้ยังมีข้อบกพร่องตรงไหน หรือการแก้โจทย์ปัญหาข้อนี้ถูกต้องแล้วแต่มีวิธีการแก้โจทย์ปัญหาวิธีการอื่นหรือไม่ หรือขณะที่แก้โจทย์ปัญหานักเรียนคุยกับเพื่อนอยู่ นักเรียนลองนั่งทำคนเดียวไม่คุยกับเพื่อนดูซิว่าคำตอบจะเหมือนเดิมหรือไม่ 28
29 วิธีการให้ข้อมูลย้อนกลับตามกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน 3) การให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับการกำกับติดตามตนเอง (self-regulation) ว่านักเรียนต้องตรวจสอบผลงานได้อย่างไร เช่น นักเรียนทำแบบฝึกหัดไม่ทันเวลา คราวหน้านักเรียนจะทำอย่างไรให้ทันเวลา หรือ คราวนี้นักเรียนลืมนำงานมาส่งครู จะทำอย่างไรไม่ให้นักเรียนลืมอีก 4) การให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับการประเมินตนเอง (self-personal evaluation) ว่าผลงานของตนเองเป็นอย่างไร เมื่อเทียบกับเกณฑ์มีคุณภาพระดับใด เช่น นักเรียนพอใจในผลงานของตนเองหรือยัง หรือ ผลงานของนักเรียนมีคุณภาพระดับใด หรือ ถ้าครูให้โอกาสปรับปรุงผลงานอีกครั้ง นักเรียนจะปรับปรุงหรือไม่ ถ้าปรับปรุงจะปรับปรุงอย่างไร 29
การสร้างเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริกส์ Rubrics Scoring 30
มาตรฐานของชิ้นงาน/การฝึกปฏิบัติ แนวทางการสร้างเกณฑ์ประเมิน กำหนดประเด็นการประเมิน [วิเคราะห์มาตรฐาน/ผลการเรียนรู้] กำหนดระดับคุณภาพ [ควรปรับปรุง / พอใช้ / ดี / ดีเยี่ยม] เลือกวิธีการประเมิน [มองภาพรวม/ มององค์ประกอบย่อย] กำหนดคะแนนเต็ม [สัดส่วนตามคะแนนใน มคอ.3] เกณฑ์การตัดสิน [ผ่าน/ไม่ผ่าน] [ควรปรับปรุง / พอใช้ / ดี / ดีเยี่ยม] ข้อเสนอแนะเพื่อสร้างเครื่องมือประเมินให้สอดคล้องกับ TQF - ประเด็นการประเมินให้มีส่วนที่เชื่อมโยงกับผลการเรียนรู้ใน 5 Domain+1 ของ TQF ตามจุดมุ่งหมายของรายวิชาในหลักสูตร 31
เกณฑ์การให้คะแนนแบบภาพรวม (Holistic Rubric Scoring) ระดับคุณภาพ ประเด็นประเมิน 32
เกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบ (Analytic Rubric Scoring) ระดับคุณภาพ ประเด็นประเมิน ความเข้าใจ - ความรู้ ฝีมือ - ผลผลิต/ชิ้นงาน ความคิดสร้างสรรค์ - ทักษะทางปัญญา ความมุ่งมั่น/พยายาม -คุณธรรมจริยธรรม 33
แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Rubrics 34
35
การหาคุณภาพเครื่องมือประเมิน : ความเที่ยงของเครื่องมือ การหาความเที่ยงระหว่างผู้ประเมินหรือผู้สังเกต แบบที่ 1 การหาความเที่ยงระหว่างผู้ประเมินหรือผู้สังเกต 2 คน ทำการวัดในกลุ่มตัวอย่างคนเดียวกันในเวลา เดียวกัน วิธีที่ 1 Interrater Reliability = จำนวนการสังเกตที่เหมือนกัน จำนวนการสังเกตที่เหมือนกัน + จำนวนการสังเกตที่ต่างกัน 36
วิธีที่ 2 การหาดัชนีความสอดคล้องตามสูตรของ Scott (Intra and inter observer reliability) = Po – Pe 1 – Pe เมื่อ Po คือ ความแตกต่างระหว่าง 1 กับผลรวมของสัดส่วนของความแตกต่างระหว่างผู้สังเกต 2 คน (รวมทั้งข้อหรือทุกลักษณะที่สังเกต) Pe คือ ผลบวกของกำลังสองของค่าสัดส่วนของคะแนนจากลักษณะที่สังเกตได้สูงสุดกับค่ารองลงมา โดยจะเลือกจากผลจากการสังเกตคนใดคนหนึ่งก็ได้ 37
วิธีที่ 3 ค่าดัชนีความสอดคล้องของการสังเกต (Interobserver Reliability : IOR แบบที่ 1) Kappa (K) = Po – Pe 1 – Pe โดยที่ Pe คือ ความสอดคล้องที่คาดหวัง = (a+c)(a+b)+(b+d)(c+d) n n n n Po คือ ความสอดคล้องที่เป็นจริง = (a + d) n เมื่อ a หมายถึง จำนวนช่วงเวลาที่ผู้สังเกตทั้ง 2 คนเห็นว่าเกิดพฤติกรรมตรงกัน b หมายถึง จำนวนช่วงเวลาที่ผู้สังเกตคนที่ 1 เห็นว่าเกิด แต่ผู้สังเกตคนที่ 2 เห็นว่าไม่เกิด c หมายถึง จำนวนช่วงเวลาที่ผู้สังเกตคนที่ 1 เห็นว่าไม่เกิด แต่ผู้สังเกตคนที่ 2 เห็นว่าเกิด d หมายถึง จำนวนช่วงเวลาที่ผู้สังเกตทั้ง 2 คนเห็นว่าเกิดพฤติกรรมไม่ตรงกัน 38
วิธีที่ 4 Interobserver Reliability: IOR แบบที่ 2 จำนวนช่วงเวลาที่เห็นด้วย + จำนวนช่วงเวลาที่ไม่เห็นด้วย วิธีที่ 5 Interobserver Reliability / point-by-point Agreement: IOR แบบที่ 3 IOR = A x 100 A + D เมื่อ A = จำนวนช่วงเวลาที่ผู้สังเกตทั้ง 2 คน สังเกตได้ตรงกัน B = จำนวนช่วงเวลาที่ผู้สังเกตทั้ง 2 คน สังเกตได้ไม่ตรงกัน 39
ดัชนีความสอดคล้องระหว่างผู้ประเมิน (Rater Agreement Index:RAI) 40
41
42
43
44
Thank you for your attention