การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2556 เสนอในการประชุมชี้แจงการ บริหารกองทุน UC ปี 2556 สปสช. เขต 3 นครสวรรค์ 18 ตุลาคม 2555 1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
ณ 31 พฤษภาคม
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การบริหารกองทุนหลักประกัน สุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ภายใต้ประกาศการดำเนินงาน กองทุนฯปี 2557.
1 2 ผลผลิต 2 โครงการพัฒนาความรู้ สารสนเทศ ด้านการบัญชี (PC1) หน่วย วัด แผนง าน ไตร มาส 3 แผนง าน ทั้งสิ้น ผลงา น ไตร มาส 3 ร้อยละ ไตร มาส 3 ร้อย ละ.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่
สรุปผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2557 ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2557
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
ผลการดำเนินงาน กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ปีงบประมาณ 2558
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ข้อเสนอแนวทางการบริหารระบบยา ปี 2561
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบ OP PP Individual
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
1.ประเด็น : การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2556 เสนอในการประชุมชี้แจงการ บริหารกองทุน UC ปี 2556 สปสช. เขต 3 นครสวรรค์ 18 ตุลาคม

ที่มา : ฐานข้อมูลทะเบียนกลาง สปสช. และโปรแกรมบันทึกข้อมูลเบิกอุปกรณ์ฯ และการให้บริการฟื้นฟูฯ ณ 31 มีนาคม 2555 สถานการณ์คนพิการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า แยกตามประเภทความพิการ ประเภทความพิการ ร้อย ละ ทางการเคลื่อนไหวหรือทาง ร่างกาย ทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย ทางสติปัญญา ทางการเห็น ทางจิตใจหรือพฤติกรรมหรือ ออทิสติก 8.47 ทางการเรียนรู้ 0.89 ไม่ระบุประเภทความพิการ รวม 100 2

การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2556 ประเด็นรายละเอียด เป้าประสงค์ เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟู สมรรถภาพ จากการได้รับการดูแลอย่างครบวงจร วัตถุประสงค์ ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟู ได้รับบริการฟื้นฟู สมรรถภาพ และได้รับอุปกรณ์ที่เหมาะสม พร้อมทั้งการฝึกการใช้อุปกรณ์ เฉพาะราย เป้าหมาย มีการติดตามผลการใช้เครื่องช่วยฟังของผู้ที่ได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยฟัง คนพิการทางการมองเห็นได้รับการฝึกทักษะ O&M มีการจัดตั้งกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัดอย่างน้อย 24 จังหวัด องค์กรคนพิการได้รับการพัฒนาให้มีส่วนร่วมด้านการฟื้นฟู อย่างน้อย 3 ประเภทความพิการต่อเขต 3

การบริหารงบบริการฟื้นฟูฯ 1) กลุ่มคนพิการที่ลงทะเบียน ในระบบหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ (ท74) 2) กลุ่มผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องได้รับ การฟื้นฟูสมรรถภาพฯ 3) กลุ่มผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับการ ฟื้นฟูสมรรถภาพฯ กลุ่มเป้าหมาย การบริการฟื้นฟูฯ (1) ในชุมชน (2) ในหน่วยบริการสาธารณสุข (OPD) (3) ในระบบบริการทางเลือก อื่นๆ 4

สิ่งที่แตกต่างจากปี 2555 รายละเอียดปี งบประมาณ - บริหารจัดการเป็น global budget ระดับเขต - เกณฑ์คำนวณการจัดสรรตามจำนวนปชก.UC และ ท.74 (สัดส่วน 50 : 50) - แบ่งสัดส่วนงบค่าบริการ : งบสนับสนุนส่งเสริม เป็น 90 : การจัดบริการ - ย้ายรายการบริการทันตกรรมจัดฟันและฝึกพูด สำหรับผู้ป่วยที่ผ่าตัด ปากแหว่งเพดานโหว่ ไปอยู่ในรายการ Central Reimbursement - บริการเครื่องช่วยฟัง ปรับประกาศใหม่เพิ่มการตรวจประเมิน ความพร้อมของหน่วยบริการในการให้บริการเครื่องช่วยฟัง - กองทุนฟื้นฟูฯ จังหวัด เพิ่มวัตถุประสงค์ “ ได้รับบริการขั้นพื้นฐาน ให้สามารถดำรงชีวิตประจำวันได้อย่างอิสระ” 3. การจัดสรรค่าบริการ ตามผลงานการให้บริการภายในวงเงินที่ได้รับจัดสรร โดย - จัดสรรล่วงหน้า 50% และจัดสรรจริงตามผลงานในปี 56 - คำนวณปิด global จากผลงาน 3 เดือนสุดท้ายของปี 55 + ผลงาน 9 เดือนของปี การบันทึกข้อมูล - เปลี่ยนการบันทึกและรับข้อมูลบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยฟังและ รองเท้าคนพิการ จากโปรแกรม e-Claim เป็นโปรแกรมฟื้นฟูฯ - เพิ่มการบันทึกรหัสโรค (ICD-10) และรหัสหัตถการ (ICD-9) ในโปรแกรมฟื้นฟูฯ 5

งบสนับสนุนและส่งเสริม การจัดบริการ (ไม่เกิน10%) ลบ. งบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์ เครื่องช่วยความพิการ (ไม่น้อยกว่า 90%) ลบ. งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (12.88 บาท/ประชากร) ลบ. งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (12.88 บาท/ประชากร) ลบ. สนับสนุนงบให้หน่วยบริการ/องค์กรคนพิการ กองทุนฟื้นฟูฯ จว. ตามแนวทางกำหนด  พัฒนาระบบหน่วยบริการตามความพร้อม  พัฒนาศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแล  พัฒนาระบบบริการในชุมชนร่วมกับ อปท.  พัฒนากำลังคนด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ  พัฒนาบริการรูปแบบใหม่ พัฒนาองค์ ความรู้ สนับสนุนงบให้หน่วยบริการ/กองทุน ฟื้นฟูฯ จว. ตามแนวทางที่กำหนด  ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ จัดหา ผลิต ซ่อม  ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วย sub acute (บริการผู้ป่วย OPD และในชุมชน)  ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วย ความพิการ กรอบงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ปี 2556 ทั้ง 2 ส่วน บริหารโดยจัดสรรเป็นงบสำหรับ สปสช. กลาง 10% สปสช. เขต 90% 6

งบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ 1) ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ  เฉพาะบริการผู้ป่วยนอก (OPD) และในชุมชน  จ่ายตามผลงานการให้บริการ ภายใต้กรอบวงเงินที่ได้รับจัดสรร ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนด ภายใต้การบริหารจัดการของเขต  เกณฑ์การจัดทำข้อมูลเพื่อขอรับการจัดสรร - ใช้รหัสวินิจฉัยโรคตาม ICD-10 - ใช้รหัสหัตถการตาม ICD-9 - ข้อมูลส่วนบุคคล, วดป.ที่ให้บริการ  การส่งข้อมูล - ส่งผ่านโปรแกรมบันทึกข้อมูลรายงานอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ - ภายใน 30 วัน หลังให้บริการ 7

2) ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ  เป็นค่าใช้จ่ายในการจัดหาอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการให้กับคนพิการ ตามจำนวนเป้าหมายในแต่ละเขต และจ่ายไม่เกินราคากลางที่ สปสช. กำหนด  ตามบัญชีรายการอุปกรณ์ หรือรายการอื่นที่จำเป็นเพิ่มเติม ภายใต้ความเห็นชอบของ อปสข.  เกณฑ์การจัดทำข้อมูลเพื่อขอรับการจัดสรร - ใช้รหัสวินิจฉัยโรคตาม ICD-10 - ใช้รหัสหัตถการตาม ICD-9 - ข้อมูลส่วนบุคคล, สิทธิ ท.74, วดป.ที่ให้บริการ  การส่งข้อมูล - ส่งผ่านโปรแกรมบันทึกข้อมูลรายงานอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ - ภายใน 30 วัน หลังการให้บริการ 8

แนวทางการจัดบริการเครื่องช่วยฟังสำหรับคนพิการ หน่วยบริการที่ขอรับค่าใช้จ่ายในการให้บริการต้องปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์และมาตรฐานการใส่เครื่องช่วยฟัง ที่สปสช.กำหนด - หน่วยบริการแจ้งความจำนงการให้บริการ ตามแบบฟอร์มที่สปสช.กำหนด ภายในเดือนกันยายน 55 - สปสช.เขต ตรวจประเมินความพร้อมตามเกณฑ์ ภายในเดือนตุลาคม 55 - สปสช.เขต รายงานผลหน่วยบริการที่ผ่านการตรวจประเมินความพร้อม ภายในเดือนพฤศจิกายน 55  วงเงินสนับสนุนเครื่องช่วยฟัง 10% จากงบอุปกรณ์ฯที่สปสช.เขต ได้รับจัดสรร  เงื่อนไขการได้รับค่าใช้จ่าย - เมื่อมีรหัสโรค รหัสหัตถการตามที่กำหนด รหัสโรคหลัก Z461, H900, H903, H906, รหัสหัตถการ 9548 (ถ้ามี +21 เฉพาะเด็ก ) 9

3) ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์และฝึกทักษะการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อม และการเคลื่อนไหว (O&M) เป็นค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการและองค์กรที่ร่วมดำเนินงานจัดบริการฝึกใช้ อุปกรณ์เครื่องช่วยที่จำเป็นให้กับคนพิการ  ค่าฝึกใช้อุปกรณ์และฝึกทักษะความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมฯ (O&M) รายละ 9,000 บาท จ่ายตามผลงานการให้บริการจริงจากหน่วยบริการ  ค่าพัฒนาและบริหารจัดการระยะเริ่มแรกศูนย์ละ 100,000 บาท  การส่งข้อมูล - ส่งผ่านโปรแกรมบันทึกข้อมูลรายงานอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ 10

งบประมาณงบบริการฟื้นฟูที่แต่ละ จังหวัดได้รับ ปี 56 จังหวัดกำแพงเพชร 7,358,050 บาท จังหวัดชัยนาท 3,572,364 บาท จังหวัดนครสวรรค์ 9,870,339 บาท จังหวัดพิจิตร 5,538,007 บาท จังหวัดอุทัยธานี 3,216,216 บาท รวมเขต 3 นครสวรรค์ 29,554,976 บาท 11

12 กรอบระยะเวลาการจัดสรรงบ  งวดที่ 1 จัดสรรล่วงหน้า 25% ภายในเดือน พย.55 ประมาณการจากผลงานการให้บริการในปีที่ผ่านมา  งวดที่ 2 จัดสรรจริงตามผลงานการให้บริการ ภายในเดือน กพ.56 และโอนเงินให้กองทุนฟื้นฟูระดับจังหวัด  งวดที่ 3 จัดสรรจริงตามผลงานการให้บริการ ภายในเดือน สค.56 ใช้ผลงาน 3 เดือนสุดท้ายของปี 55 และผลงาน 9 เดือน ของปี 56

งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ครอบคลุมกิจกรรม  พัฒนาระบบหน่วยบริการตามความพร้อม  พัฒนาศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแล  พัฒนาระบบบริการในชุมชนร่วมกับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น  พัฒนากำลังคนด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ  พัฒนาบริการรูปแบบใหม่ พัฒนาองค์ความรู้  เป็นการสนับสนุนเงินให้กับหน่วยบริการ และองค์กรคนพิการ เพื่อ การพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์  รูปแบบการจ่าย ตามแผนงาน/โครงการที่ได้รับการสนับสนุน 13

14 เพื่อให้คนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่จำเป็นต้องฟื้นฟูฯ (Sub-acute) เข้าถึง หรือได้รับบริการอย่างทั่วถึงและครอบคลุม 1 เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุน ให้มี ประสิทธิภาพ ทั้งนี้ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของค่าใช้จ่ายทั้งหมดของ กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพในรอบปี 5 เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบการบริการฟื้นฟูให้ตอบสนองต่อความ จำเป็นของผู้ที่จำเป็นต้องฟื้นฟูในท้องถิ่นชุมชนได้มากขึ้น 2 เพื่อสนับสนุนการพัฒนารูปแบบการดูแล ช่วยเหลือ สนับสนุนและฟื้นฟู สมรรถภาพคนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่จำเป็นต้องฟื้นฟูฯ ในระดับชุมชนและ ในครอบครัวเชื่อมโยงกับหน่วยบริการ 3 เพื่อพัฒนาศักยภาพและความเข้มแข็งขององค์กรคนพิการ และองค์กร ผู้สูงอายุ และองค์กรอื่นๆ 4 วัตถุประสงค์ของกองทุนฯ กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัด เพื่อสนับสนุนให้คนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการ ฟื้นฟูสมรรถภาพ ได้รับบริการขั้นพื้นฐานให้สามารถดำรงชีวิตประจำวันได้ อย่างอิสระ 6 14

แนวทางการพัฒนาจัดตั้งกองทุนฟื้นฟูฯจังหวัด  สปสช.เขต คัดเลือกพื้นที่เป้าหมาย ร่วมกับ อบจ. ที่พร้อมจัดตั้งกองทุน ฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด  จัดสรรงบให้กองทุนตามจำนวน ปชก.UC ของจังหวัด ในสัดส่วนที่เท่ากัน และไม่เกินวงเงินที่จังหวัดได้รับจัดสรร (จากงบอุปกรณ์/บริการฟื้นฟูฯ และงบส่งเสริมสนับสนุนการจัดบริการฟื้นฟูฯ)  กองทุนดำเนินงานตามประกาศหลักเกณฑ์กองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด  การติดตามผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุนฯ 15

การจัดตั้งกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อ สุขภาพระดับจังหวัด ปี 55 สปสช. เขต 3 นครสวรรค์ร่วมกับ อบจ. จังหวัดตั้งกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด จำนวน 2 จังหวัดได้แก่ พิจิตร (2 ล้าน ) อุทัยธานี (1 ล้าน ) ปี 56 สปสช. เขต 3 นครสวรรค์ร่วมกับ อบจ. จังหวัดตั้งกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด จำนวน 5 จังหวัดครบทุกจังหวัดได้แก่ พิจิตร (2 ล้าน ), อุทัยธานี (1 ล้าน ), นครสวรรค์ (2 ล้าน ), ชัยนาท ( 2.5 ล้าน ), กำแพงเพชร (7 ล้าน ) 16

การจัดสรรงบประมาณจากกองทุนฟื้นฟู ฯให้กองทุนฟื้นฟูระดับจังหวัด กรณีเงินที่ อบจ. เข้าร่วมครบจำนวนที่ สปสช. จัดสรรให้จังหวัด จะให้ กองทุน บริหารในทุกส่วนได้แก่งบบริการฟื้นฟูและ อุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ ( ค่าบริการ ฟื้นฟูสมรรถภาพ, ค่าอุปกรณ์ เครื่องช่วยความพิการ, O&M) และงบ สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ ฟื้นฟูสมรรถภาพ ( การสนับสนุนเงินให้กับ หน่วยบริการ และองค์กรคนพิการ เพื่อการ พัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้าน การแพทย์ ) 17

การจัดสรรงบประมาณจากกองทุนฟื้นฟู ฯให้กองทุนฟื้นฟูระดับจังหวัด (2) กรณีเงินที่ อบจ. เข้าร่วมไม่ครบจำนวนที่ สปสช. จัดสรรให้จังหวัด จะให้ กองทุนบริหารในส่วนงบ สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการฟื้นฟู สมรรถภาพ ( การสนับสนุนเงินให้กับหน่วยบริการ และองค์กรคนพิการ เพื่อการพัฒนาระบบบริการ ฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ) เป็นอันดับแรก อันดับต่อไปได้แก่งบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์ เครื่องช่วยความพิการ ( ค่าบริการฟื้นฟู สมรรถภาพ, ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ, O&M) และ 18

การคำนวณการจัดสรร Global เขต 19 - จาก Pop UC และ ท.74 อัตราส่วน 50:50 ใช้ข้อมูล ณ วันที่ 1 กค.55 - จาก Pop UC และ ท.74 อัตราส่วน 50:50 ใช้ข้อมูล ณ วันที่ 1 กค.55

การกำกับติดตามในด้าน - การจัดสรรและเบิกจ่ายงบกองทุนส่วนกลาง เขต - ผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย ตัวชี้วัด รายไตรมาส รายปี เครื่องมือ/วิธีการกำกับติดตาม - KPI - การตรวจเยี่ยม/นิเทศ/การติดตามในพื้นที่ของเขต/ ส่วนกลาง/คณะอนุกรรมการ/คณะกรรมการ การกำกับติดตามผลการดำเนินงาน 20

ข้อมูลการกำกับติดตาม รายการแหล่งข้อมูล 1. บริการฟื้นฟูฯ และการสนับสนุนอุปกรณ์ เครื่องช่วยความพิการ โปรแกรมรายงานอุปกรณ์คนพิการและ การให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ 2. กองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัดโปรแกรมรายงานอุปกรณ์คนพิการและ การให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ และ excel file 3. งบส่งเสริมสนับสนุนการจัดบริการฟื้นฟูรายงานผลงานตามสัญญา/ข้อตกลง/ โครงการ ตามแบบฟอร์มที่กำหนด 4. ติดตามการใช้จ่ายงบกองทุนBudget report 21

22 ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI KPITarget 1 ร้อยละของการติดตามผลการใช้เครื่องช่วยฟังของผู้ที่ ได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยฟัง 80% 2 ร้อยละสะสมของคนพิการทางการมองเห็นได้รับการฝึก ทักษะ O&M (ผลงานปี จำนวน 7,500 คน) 60% (4,500) 3จำนวนกองทุนฟื้นฟูฯ จังหวัด เขตละ 2 จว. (24 จว.) 4 องค์กรคนพิการได้รับการพัฒนาให้มีส่วนร่วมด้านการ ฟื้นฟูอย่างน้อย 3 ประเภทความพิการ/เขต ทุกเขต