ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัยโดย นางสาวกุลธิดา มีสัตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญภิวัฒน์
Advertisements

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
การใช้เทคโนโลยีในการศึกษา นับว่ามีบทบาทสำคัญในการ ปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ด้วย วิวัฒนาการและการพัฒนาทางการศึกษาที่ไม่หยุดยั้งนี้เอง.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
ผู้วิจัย นางบุญนภัส รินทร์คำ วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีราชา.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
การศึกษาความพึงพอใจ ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีโป ลิเทคนิคลานา เชียงใหม่ ต่ออาจารย์ผู้สอนตามความคิดเห็น ของนักศึกษา.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ในรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ด้วยวิธี เพื่อนช่วยเพื่อน ผู้วิจัย นาง นุสรา ปิยะศาสตร์ ตำแหน่ง ครูผู้สอน วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา.
การศึกษาพฤติกรรมการส่งงานของนักเรียนชั้น ปวช.ปีที่ ๒ สาขาการบัญชี
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
การประเมินผลการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป BC Account Version 5.5 Standard สำหรับงานบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ พลอย ประสงค์ทรัพย์ กลุ่มงานบัญชี
วิทยาลัยเทคโนโลยีสาร สาสน์ Sarasas Technological College นางสาวธัชชา สิงควะ นิช 2558.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การพัฒนาความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนโดย การชมนิทรรศการในงาน BBC’s Educa Talent Contest 2014 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขางานภาษาต่างประเทศ.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้ใช้ต่อการบริการของ ฝ่ายหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี Expectation and.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ประเภทที่ ๑ วิจัยในชั้นเรียน.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
ผู้วิจัย นายกัมพล ติปิน วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556

ความสำคัญ และความ เป็นมาของปัญหา ผู้วิจัยต้องการยืนยันประสิทธิภาพ การบริหารจัดการโครงการ และ การเรียนรู้นอกสถานที่โดยเฉพาะ อย่างยิ่งจากผู้เรียน จึงได้ ทำการศึกษาอย่างเป็นระบบ เกี่ยวกับประสิทธิภาพของการ บริหารจัดการโดยการทัศนศึกษา ดูงานนักศึกษาบริหารธุรกิจสาขา การจัดการ สาขาการจัดการ และสาขาการตลาดด้วยการเรียนรู้ จากประสบการณ์จริง

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการเรียน แบบศึกษาดูงาน 2. เพื่อเปรียบเทียบการบริหารจัดการ โครงการเรียนรู้จากประสบการณ์ จริงด้วยวิธีการเรียนแบบศึกษาดู งาน 3. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะในการ บริหารจัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการเรียน แบบศึกษาดูงาน

ตัวแปร ต้น กรอบแนวคิดในการวิจัย โครงการ ศึกษาดูงาน ความพึงพอใจต่อ การบริหารจัดการ โครงการ ตัวแปร ตา ม

กลุ่มตัวอย่าง การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยใช้ตารางการกำหนดขนาดของ กลุ่มตัวอย่างของเครซี่ และมอร์แกน ( ที่มา :Robert V. Krejcie and Earyle W. Morgan) ลำดับ สาขา นักศึกษาสาขาการจัดการทั่วไป นักศึกษาสาขาการจัดการโลจิ สติกส์ นักศึกษาสาขาการตลาด รวมประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชาก ร ร้อยละ กลุ่ม ตัวอย่าง

เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล ตอนที่ 1 แบบประเมินประสิทธิภาพของ การบริหารจัดการโครงการ ตอนที่ 2 แบบสอบถามปลายเปิดสอบถาม เกี่ยวกับข้อเสนอแนะ เพื่อการพัฒนา

การสร้างเครื่องมือ 1. ศึกษาเอกสาร 2. นำแนวคิด ทฤษฎี และข้อมูลมา สร้างแบบสอบถาม 3. นำแบบสอบถามฉบับร่างเสนอต่อ ที่ปรึกษา และฝ่ายประกันคุณภาพ 4. ปรับแก้ไขแบบสอบภามตาม คำแนะนำ 5. นำเครื่องมือฉบับที่แก้ไขแล้วให้ผู้ เชี่ยวชายตรวจสอบความ เที่ยงตรงของเนื้อหา และภาษาที่ ใช้

การสร้างเครื่องมือ 6. นำแบบสอบถามมาปรับปรุงแก้ไข ให้มีความเหมาะสม 7. ปรับแก้ไขแบบสอบภามตาม คำแนะนำ 8. นำไปจัดพิมพ์เป็นแบบสอบถาม ฉบับสมบูรณ์เพื่อเก็บข้อมูลต่อไป

สถิติที่ใช้ในการวิจัย 1. การศึกษาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ โครงการ ใช้สถิติค่าเฉลี่ย และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ส่วนการ เปรียบเทียบประสิทธิภาพการบริหารจัดการ โครงการใช้สถิติค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) เช่นเดียวกัน 2. การศึกษาข้อเสนอแนะประสิทธิภาพการ บริหารจัดการโครงการใช้วิธีการวิเคราะห์ เนื้อหา เนื่องจากเป็นข้อมูลปลายเปิดที่ใช้ ผู้ตอบแบบสอบถามได้เขียนบรรยาย และ นำมานับความถี่ (f) พร้อมกันกับการ นำเสนอโดยการเรียงลำดับจากความถี่มาก ไปหาน้อย

กิจกรรม

ประสิทธิภาพการบริหารโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงโดยรวม ลำดับประเด็นค่าเฉลี่ย S.D. ความหมาย 1 การประชาสัมพันธ์โครงการก่อนเริ่มโครงการ ดีมาก 2 ความเหมาะสมและความพร้อมของสถานที่ดูงาน ดีมาก 3 ความพร้อมของสื่อการนำเสนอของวิทยากร ดีมาก 4 ความสามารถในการถ่ายทอดของวิทยากร ดี 5 เนื้อหาสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การอบรม ดี 6 ความพร้อมของยานพาหนะรับ - ส่งนักศึกษา ดี 7 ความเหมาะสมของระยะเวลาดูงาน ดีมาก 8 ความรู้ที่ได้รับสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ ดี 9 เอกสารประกอบการบรรยาย ดี 10 ความต้องการให้มีการจัดโครงการนี้อีก ดีมาก ความพึงพอใจโดยรวม ดี

ประสิทธิภาพการบริหารโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงโดยรวม

เปรียบเทียบประสิทธิภาจำแนก ตามสาขา / ภาคเรียน ลำดั บสาขา / ภาคเรียนค่าเฉลี่ย S.D. ความหม าย 1 การจัดการทั่วไป ภาคเรียนที่ ดีมาก 2 การจัดการทั่วไป ภาคเรียนที่ ดี 3 การจัดการโลจิสติกส์ ภาคเรียนที่ ดี 4 การจัดการโลจิสติกส์ ภาคเรียนที่ ดี 5 การตลาด ภาคเรียนที่ ดีมาก 6 การตลาด ภาคเรียนที่ ดีมาก

เปรียบเทียบประสิทธิภาจำแนก ตามสาขา / ภาคเรียน

1. ยานพาหนะที่ใช้ในการเดินทางควร เลือกที่มีขนาดเพียงพอ และนั่งสบาย กับทุกคน 2. อาหารระหว่างเดินทางควรติดต่อกับ สถานที่ที่เหมาะสมกว่านี้ 3. เอกสารประกอบการศึกษาดูงานควร มีรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ที่ศึกษา ดูงาน 4. ควรแจกโครงการให้กับผู้ปกครอง ทราบล่วงหน้านาน ๆ เพื่อขอ สนับสนุนงายขึ้น ข้อเสนอแนะต่อการบริหาร จัดการโครงการ

ขอจบการนำเสนอเพียง เท่านี้ สวัสดีค่ะ