ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข แนวทางการสนับสนุน การดำเนินงานคณะอนุกรรมการ สาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.)
ระบบอนามัยสิ่งแวดล้อม ประชาชนได้รับการป้องกัน ดูแลสุขภาพจากปัจจัยเสี่ยง ด้านสิ่งแวดล้อม ระบบข้อมูลระบบป้องกันและ ลดปัจจัยเสี่ยง ระบบบริการระบบบริหารจัดการ 1. พัฒนาฐานข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมที่ เชื่อมโยงกับด้านสุขภาพ KPI : สสจ. มีฐานข้อมูลและ สถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 100 (ข้อมูลมูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยทั่วไป สิ่งปฏิกูล สุขาภิบาลอาหารและน้ำ มาตรการทางกฎหมาย สาธารณสุข และข้อมูลพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจาก มลพิษสิ่งแวดล้อม) 2.มีการเฝ้าระวังและประเมินความเสี่ยง ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ - เฝ้าระวังในพื้นที่เสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อม 36 จังหวัด ได้แก่ 1) พื้นที่เสี่ยงจากมลพิษ สารเคมีอันตราย (เหมืองทอง เหมืองเก่า เหมือง โปแตส ขยะอิเล็กทรอนิกส์) 2) พื้นที่เสี่ยงจาก มลพิษทางอากาศ (ฝุ่นหน้าพระลาน หมอกควัน ภาคเหนือและภาคใต้ โรงไฟฟ้าชีวมวล ) และ 3) พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ/นิคมอุตสาหกรรม/ โรงไฟฟ้าถ่านหิน - เฝ้าระวังพื้นที่ทั่วไป 1.รพ.มีการจัดการมูลฝอย ติดเชื้อตามกฎหมาย KPI : ร้อยละ 100 ของ รพ. สังกัดกระทรวง สาธารณสุข มีการจัดการมูลฝอยติด เชื้อได้ตามกฎหมาย 2.ส่งเสริมการบังคับใช้ กฎหมายในการควบคุมการ ประกอบกิจการให้ได้ มาตรฐาน 1.การจัดบริการเวชกรรม สิ่งแวดล้อม ในพื้นที่เสี่ยง โดยพัฒนางาน Env.Occ.Unit ใน รพศ. / รพท. Env.Occ.Centerใน รพช. Env.Occ.Clinic ใน รพสต. KPI : ร้อยละ 50 ของ รพศ./รพท. ผ่านเกณฑ์ การประเมิน 1.ใช้มาตรการด้านกฎหมายสาธารณสุขในระดับ จังหวัด KPI : อสธจ. มีมติในการขับเคลื่อนงานอนามัย สิ่งแวดล้อมที่สำคัญอย่างน้อย 2 เรื่อง 2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ อปท. มีการจัดบริการ อนามัยสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน KPI : ร้อยละ 50 ของเทศบาลทุกระดับผ่านการ ประเมิน EHA ระดับพื้นฐาน อย่างน้อย 1 ประเด็น 3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนตระหนักรู้และมี ส่วนร่วมอย่างเข็มแข็งในการจัดการปัญหาระดับ พื้นที่ เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพ 4. การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหา 5.การกำกับ ติดตาม และประเมินผล เป้าหมาย : จังหวัด ท้องถิ่น ชุมชน มีระบบการจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ในปี 2569 ปี 2559 : จังหวัดมีการดำเนินงานเพื่อจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 50 3 เดือน6 เดือน9 เดือน12 เดือน จังหวัดมีแผนปฏิบัติการ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้าน สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ จังหวัดมีข้อมูลสถานการณ์ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ที่สำคัญและมีการผลักดันสู่ กระบวนการโดยกลไก อสธจ. จังหวัดมีการดำเนินงานเพื่อจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพ ครอบคลุม 5 ประเด็น ได้แก่ (1)ฐานข้อมูล สถานการณ์ และการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (2)การจัดการมูลฝอย ติดเชื้อ (3)การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (EHA) (4)การขับเคลื่อนงานโดยมี กลไกคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) (5)การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม จังหวัดมีการดำเนินงานเพื่อ จัดการปัจจัยเสี่ยงด้าน สิ่งแวดล้อมและสุขภาพตาม เกณฑ์ที่กำหนดระดับดีขึ้น ไป ร้อยละ 50 Quick win
คณะอนุกรรมการสาธารณสุข จังหวัด (อสธจ.) ตัวชี้วัด...ความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อให้ จังหวัดในเขตรับผิดชอบมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
ความคาดหวังต่อการดำเนินงาน อสธจ. ลำดับประเด็น 1จังหวัดรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ที่เป็นระบบ นำเสนอและชี้ประเด็นปัญหาได้ 2เจ้าพนักงานตามกฎหมายฯ สามารถปฏิบัติงานได้ 3ผู้รับผิดชอบ/ทำหน้าที่ในฝ่ายเลขานุการฯ อสธจ. มีความรู้ ความสามารถเหมาะสม 4จัดประชุม/ทำรายงานการประชุมที่แสดงถึงข้อพิจารณา มติ/ข้อสั่งการในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น 5สรุปผล/ติดตามความก้าวหน้าตามข้อสั่งการ/มติที่ประชุมที่แสดง ถึงกระบวนการ ผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอ แนวทางแก้ไข 6ดำเนินงาน/เฝ้าระวังปัญหาสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของพื้นที่
ประเด็นงานที่ดำเนินการผ่าน อสธจ. แหล่งข้อมูล: รวบรวมจากรายงานการประชุม และสรุปผลการประชุมจากศูนย์อนามัย (30 ก.ย. 2558) ประเด็นร้อยละ (N=72 จังหวัด) ขับเคลื่อนประเด็นงานสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 1. เร่งรัดการออกข้อกำหนดของท้องถิ่น 2. การจัดการมูลฝอย/Road Map 3. พัฒนาคุณภาพการจัดบริการ อปท. (EHA) 4. พัฒนาตลาดสดน่าซื้อ 5. พัฒนาศักยภาพเจ้าพนักงานตามกฎหมาย 6. การจัดการสิ่งปฏิกูล/พัฒนาส้วมสาธารณะ 7. พัฒนาระบบข้อมูล/สถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อม 8. ขับเคลื่อนมาตรการอาหารปลอดภัย (CFGT) 9. มูลฝอยติดเชื้อในโรงพยาบาล/คลินิก 10. คุณภาพน้ำบริโภค/น้ำใช้/น้ำเสีย แก้ไขปัญหาของพื้นที่ 1. รณรงค์ No Foam (พะเยา 2. พัฒนารูปแบบ/กลไกการแก้ไขเรื่องร้องเรียน 3. แก้ไขเหตุเดือดร้อนรำคาญ 4. ลดการใช้สารเคมีในภาคเกษตรกรรม การบริหารจัดการ 1.ตั้งคณะทำงานเฉพาะกิจ/พัฒนากลไกรองรับระดับอำเภอ 2. จัดทำยุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของจังหวัด
บทบาทการสนับสนุนการดำเนินงาน อสธจ. ส่วนกลางศูนย์อนามัยจังหวัด 1. ชี้แจงการดำเนินงาน ของ อสธจ.ให้แก่ผู้รับผิดชอบงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมของ สสจ. (ณโรงแรมอมารี แอร์พอร์ตดอน เมือง วันที่ 6-8 ม.ค.59) 2. การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ ศูนย์อนามัย เรื่องการตรวจร่าง ข้อกำหนดของท้องถิ่น และการ วินิจฉัยอุทธรณ์ (ณ ชวาลัน รีสอร์ท วันที่ ธ.ค. 58) 3. เป็นที่ปรึกษา/วิทยากร / เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสธจ. 4. สนับสนุนองค์ความรู้ คู่มือ แนวทางการดำเนินงาน เอกสาร วิชาการ 5. ติดตามการดำเนินงานอสธจ. ร่วมกับศูนย์อนามัย * รายละเอียดตามแบบฟอร์มที่ 1 และ2 1. มีการวิเคราะห์ความพร้อมของ อสธจ. ของจังหวัดในเขตพื้นที่ รับผิดชอบและมีแผนการสนับสนุน การดำเนินงานของ อสธจ. 2. เข้าร่วมชี้แจงและให้ข้อคิดเห็น ในการประชุมอสธจ. อย่างน้อย ร้อยละ 80 ของจำนวนการประชุม ของแต่ละจังหวัด 3. มีการติดตามและสรุปรายงาน ผลการดำเนินงานของอสธจ. 4. เป็นที่ปรึกษา/วิทยากร /เข้าร่วม แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน อสธจ. 5. สนับสนุนองค์ความรู้ คู่มือ แนวทางการดำเนินงาน เอกสาร วิชาการ 1. มีผู้รับผิดชอบการดำเนินงาน ของฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรม การสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) 2. มีแผนงาน/โครงการ/และการ จัดประชุม อสธจ. ไม่น้อยกว่า 3 ครั้งต่อปี 3. รายงานการประชุม คณะอนุกรรมการสาธารณสุข จังหวัด (อสธจ.) ที่มีมติ ขับเคลื่อนประเด็นงานอนามัย สิ่งแวดล้อมอย่างน้อย 2 เรื่อง 4. มีการติดตามมติประเด็นงาน อนามัยสิ่งแวด ล้อม อย่างน้อย 2 เรื่อง 5. มีรายงานความก้าวและสรุป ผลการดำเนินงานประเด็นงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมตามมติ ที่ประชุม
การติดตามและการรายงานผลการดำเนินงาน 1.มีแผนการจัดประชุมและขับเคลื่อนงานตามมติของ อสธจ. (แบบฟอร์มที่ 1) 2.สรุปมติการประชุมและการขับเคลื่อนงานตามมติของ อสธจ. (แบบฟอร์มที่ 2) 3.ส่งรายงานการประชุมอสธจ. /สรุปมติการประชุมและการ ขับเคลื่อนงานตามมติของ อสธจ. และข้อเสนอแนะต่อการ ดำเนินงานของ อสธจ. (รอบ 6 เดือน 9 เดือน และ 12 เดือน) 4.สรุปรายงานผลการดำเนินงาน อสธจ. ส่งมายังศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย
ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข ถนนติวานนท์ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี โทร , , , โทรสาร WEB SITE ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข