เกณฑ์การประเมิน ผู้บริหารสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำนวยการชำนาญ การพิเศษ / เชี่ยวชาญ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
KM Learning Power ครั้งที่ 3
Advertisements

ตัวบ่งชี้คุณภาพ สำนักงานอธิการบดี
How to write impressive SAR
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ การจัดการเรียนการสอน
รูปแบบการกำหนดรหัส เอกสาร/หลักฐานตามตัวบ่งชี้
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
และข้อมูลระดับภาควิชา (SAR – II)
แผนการดำเนินงานของทีม บริหาร ด้านการพัฒนาคุณภาพ 1.
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 11 มกราคม น.
7.1 – 1 ร้อยละผู้สอบผ่านใบประกอบ วิชาชีพ ปี การศึก ษา ที่มา : SAR เป้าหมาย 75%
วาระที่ 2.1 รายงานผลการ ดำเนินงานของ หน่วยงานสนับสนุน.
ตัวชี้วัดที่ 3.8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการในผลผลิตที่ 3 แรงงานที่ถูกเลิกจ้าง/ว่างงาน แรงงานใหม่ ผู้สูงอายุ ผู้พิการและแรงงานนอกระบบที่มีทักษะฝีมือในการประกอบอาชีพ.
โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน.
ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงานในภาพรวมของภาค (ผลการดำเนินงานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาคและศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานที่อยู่ในเครือข่าย)
ข้อสังเกตและข้อควรปฏิบัติ ในการตรวจประเมินคุณภาพสถานศึกษา
สรุป การฝึกอบรมเชิง ปฏิบัติการ ผู้ตรวจสอบคุณภาพ การศึกษาภายใน โดย สำนักประกันคุณภาพและ ข้อมูล มหาวิทยาลัย เซนต์จอห์น และทบวงมหาวิทยาลัย.
การดำเนินงานโครงการ เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ การประเมิน จาก ภายนอก รอบสาม ของ สพป. กาญจนบุรี เขต ๑.
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
๑. ด้านบริหารจัดการสถานศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนนวมราชานุสรณ์
การจัดทำรูปเล่มรายงาน ก.พ.ร.
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ จากเป็น สถานที่ฝึกการประเมินคุณภาพรอบ สาม ( สมศ.)
หน่วยที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมิน
แนวปฏิบัติที่ดีของ การประกันคุณภาพ การศึกษา. ที่องค์ประกอบ ผลการประเมิน ปี 52 ปี 53 ปี 54 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ดำเนินการ
SELF-ASSESSMENT REPORT Department of Medicine. SAR Plan-Do-Follow-Evaluate-Improve.
แสดงเพียง บางส่วน แจ้งให้ ภาควิชา / หน่วยงาน ส่งวันที่ พร้อม ให้คณะเข้า ตรวจประเมินฯ แจ้งกรรมการตรวจ ประเมินฯ ของคณะ ส่งวันที่ และรายชื่อ หน่วยงานที่พร้อมฯ.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัด BSC สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดขอนแก่น.
ระบบที่พัฒนาสำเร็จแล้ว 1) ระบบการลาออนไลน์ 2) ระบบสายตรง 3) ระบบเอกสารอ้างอิง 4) ระบบ TOR 5) ระบบ e-Project 6) ระบบแจ้งเตือน e- Manage 7) ระบบ e-Meeting.
Education Quality Assurance. 2 Education Quality Assurance?
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่
สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก
สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่ (พ.ศ
ณ ห้องประชุมสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
(Introduction to Soil Science)
ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย
Introduction to Analog to Digital Converters
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ปี 2561 (ตาม ม.44)
หลักการและแนวทางการดำเนินการประกันคุณภาพ
Roadmap AUNQA หลักสูตร
งานระบบคอมพิวเตอร์และบริการ
แนวทางการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2560
แนวทางการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
ถ่ายทอดเกณฑ์ และแนวทางการประเมิน การพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ
สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับจังหวัด รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2561
ประจำเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพ/ คุณภาพการทำงาน
รายงานการประเมินตนเอง
นโยบายการบริหาร นักเรียน นักศึกษา มีวินัยและจรรยาบรรณ
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
การประชุมบริหารจัดการพลังงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
จาก Recommendation สู่การพัฒนาคุณภาพ
การฝึกปฏิบัติตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง ตามแนวทาง SEPA สำหรับปี 2554
รอบที่ ๑ (๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๒
ในการทำประกันคุณภาพการศึกษา รศ.พญ. อัจฉรา ตั้งสถาพรพงษ์
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)
ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
การดำเนินงานตามนโยบายปฏิรูป ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ตัวชี้วัด 2.4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เกณฑ์การประเมิน ผู้บริหารสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำนวยการชำนาญ การพิเศษ / เชี่ยวชาญ

คุณสมบัติของผู้ขอเลื่อนวิทย ฐานะ ( ชพ./ ชช.)  ดำรงตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา ชำนาญการ 2 ปี ( ชพ.) ชำนาญ พิเศษไม่น้อยกว่า 3 ปี ( ชช.)  มีภาระงานบริหารสถานศึกษาเต็ม เวลา  ปฏิบัติงานตามหน้าที่และรับผิดชอบ การบริหารและพัฒนาสถานศึกษา และมีผลงานการบริหารและการ พัฒนาสถานศึกษาย้อนหลัง 2 ปี ติดต่อกัน

การขอรับการประเมิน  ขอด้วยตนเอง หรือหน่วยงาน ราชการเสนอให้พิจารณา  ขอรับการประเมินปีละ 1 ครั้ง และ ดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 6 เดือนแต่ไม่เกิน 1 ปี นับแต่วันที่ ก. ค. ศ. ได้รับเอกสารครบถ้วน  กรณีผู้จะเกษียณอายุราชการให้ ยื่นก่อนที่จะเกษียณไม่น้อยกว่า 6 เดือน

ด้านที่ 1 ความประพฤติ วินัย คุณธรรม จริยธรรมฯ ( ทุกว. ฐ.)  การมีวินัย  การประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี  การดำรงชีวิตอย่างเหมาะสม  รักและศรัทธาในวิชาชีพ  รับผิดชอบในวิชาชีพ เมื่อผ่านการประเมินด้านที่ 1 ให้ ประเมิน ด้านที่ 2 และ 3

ด้านที่ 2 คุณภาพการบริหารและ การพัฒนาสถานศึกษา  ประจักษ์พยานการบริหาร สถานศึกษา ( ทุก วิทยฐานะ )  รายงานการประเมินตนเองด้าน บริหารและพัฒนาสถานศึกษา (SAR) รวมทั้งการปฏิบัติหน้าที่ อื่นที่ได้รับมอบหมายอย่างน้อย 1 ปีการศึกษา ( ทุกวิทย ฐานะ )

ด้านที่ 3 ผลการบริหารและการ พัฒนาสถานศึกษา  ผลการประเมินคุณภาพภายในของ สถานศึกษา ผลการประเมินคุณภาพ ภายนอก คะแนนผลการทดสอบระดับชาติ (O-net,NT,LT ฯ ) ย้อนหลังอย่างน้อย 2 ปี รวมทั้งความร่วมมือและการยอมรับของ ผู้ปกครอง ชุมชน ความสำเร็จในการพัฒนา ครู สถานศึกษา และชุมชน ( ทุกวิทยฐานะ )  รายงานการวิจัยสถานบันที่เกิดจากการ ศึกษาวิจัยสถานศึกษาของตนซึ่งนำไปใช้ใน การบริหารสถานศึกษาแล้วอย่างน้อย 1 ชิ้น ( ช. พ.)  รายงานการวิจัยสถานบันที่เกิดจากการ ศึกษาวิจัยสถานศึกษาของตนซึ่งนำไปใช้ใน การบริหารสถานศึกษาแล้วจนประสบผลดี สามารถเป็นแบบอย่างได้อย่างน้อย 1 ชิ้น ( ช. ช.)

ด้านที่ 3 ผลการบริหารและการ พัฒนาสถานศึกษา  นวัตกรรมและรายงานการพัฒนา นวัตกรรมการบริหารสถานศึกษาซึ่ง นำมาใช้ในการบริหารสถานศึกษาแล้ว จนประสบผลดีสามารถเป็นอย่างได้ อย่างน้อย 1 ชิ้น ( ช. ช.)  ผลงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ( ถ้ามี )

เกณฑ์การตัดสิน ( ช. พ.)  ด้านความประพฤติฯ อยู่ใน เกณฑ์ผ่าน  ด้านคุณภาพการบริหาร ไม่ต่ำ กว่าร้อยละ 70  ด้านผลการบริหาร ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 70

เกณฑ์การตัดสิน ( ช. ช.)  ด้านความประพฤติฯ อยู่ใน เกณฑ์ผ่านและเป็นแบบอย่างที่ ดี  ด้านคุณภาพการบริหาร ไม่ต่ำ กว่าร้อยละ 75  ด้านผลการบริหาร ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 75

การประเมินด้วยวิธีการปกติ ให้ ดำเนินการดังนี้ 1.1. ให้ยื่นคำขอด้วยตนเองพร้อม เอกสารตามข้อ 1.3. ผ. อ. สพท. เขต พื้นที่ 1.2. ผ. อ. สพท. เขตพื้นที่ตรวจสอบ คุณสมบัติและรับรองว่าผู้ขอรับการ ประเมินไม่อยู่ในระหว่างถูกลงโทษ ทางวินัยหรือจรรยาบรรณวิชาชีพ เว้น แต่โทษภาคทัณฑ์ และเป็นผู้มีความ เหมาะสมที่จะได้รับการประเมินเพื่อ เลื่อนวิทยฐานะ

การประเมินด้วยวิธีการปกติ ให้ ดำเนินการดังนี้ 1.3. ให้ผู้รับการประเมินส่งเอกสารอย่าง ละ 1 ชุด ดังนี้ ประจักษ์พยานการบริหาร สถานศึกษา ( ทุกวิทยฐานะ ) รายงานการประเมินตนเองด้าน การบริหารและการพัฒนาสถานศึกษา รวมการปฏิบัติหน้าที่อื่นที่ได้รับ มอบหมายอย่างน้อย 1 ปีการศึกษา ( ทุก วิทยฐานะ )

การประเมินด้วยวิธีการปกติ ให้ ดำเนินการดังนี้ ( ช. พ.) รายงานการวิจัยสถาบันที่เกิดจากการ ศึกษาวิจัยสถานศึกษาของตนซึ่งนำไปใช้ใน การบริหารสถานศึกษาแล้วอย่างน้อย 1 ชิ้น ผลงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ( ถ้ามี ) สำเนาทะเบียนประวัติข้าราชการ ( ก. พ.7)

การประเมินด้วยวิธีการปกติ ให้ ดำเนินการดังนี้ ( ชช.) รายงานการวิจัยสถาบันที่เกิดจากการ ศึกษาวิจัยสถานศึกษาของตนซึ่งนำไปใช้ใน การบริหารสถานศึกษาแล้วจนประสบผลดี สามารถเป็นแบบอย่างได้อย่างน้อย 1 ชิ้น นวัตกรรมและรายงานการพัฒนา นวัตกรรมการบริหารสถานศึกษาซึ่งนำไปใช้ การบริหารสถานศึกษาแล้วจนประสบผลดี สามารถเป็นแบบอย่างได้อย่างน้อย 1 ชิ้น ผลงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ( ถ้ามี ) สำเนาทะเบียนประวัติข้าราชการ ( ก. พ.7)