โรงเรียน คณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา อำเภอ เมืองยะลา จังหวัด ยะลา สัญลักษณ์ของโรงเรียนสัญลักษณ์ : ( เป็นรูปเชิงเทียน พญานาคสองหัว มีเทียนปักอยู่ตรงกลาง เปลวไฟกําลังเปล่งแสง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
Advertisements

ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
การออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้กระบวนการคิด
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ประวัติ โรงเรียนวัดท่า ข้าม โรงเรียนวัดท่าข้าม ตั้งอยู่เลขที่ 54 หมู่ 3 ตำบลท่า ข้าม อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม มีพื้นที่โรงเรียนทั้งหมดรวม 1 ไร่ 2 งาน.
การดำเนินงานตามโครงการ “ หลักสูตรคู่ขนาน ” โรงเรียนกู่กาสิงห์ประชา สรรค์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 27 อัต ลักษ ณ์ เอกลั กษณ์ มีความรู้คู่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
โรงเรียนวัดอ้อมใหญ่ เปิดทำการสอนเมื่อปี พ. ศ. ๒๔๗๒ สมัย พระอนุรัตน์นฤผดุง เป็นนายอำเภอสามพราน นายวิจิต นิลพันธ์ เป็นศึกษาธิการอำเภอสามพราน พระอธิการฮวดเป็นเจ้าอาวาสวัด.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐาน และตัวชี้วัด การพัฒนาครูและศึกษานิเทศก์ด้านการสร้าง เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ตามแนวการทดสอบนานาชาติ (PISA)
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ชุมชนปลอดภัย.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
Boot Camp & Regional English Training Centres
โรงเรียนกับชุมชน.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
การจัดสรรงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ 2561
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
Aj.Dr. Bualak Naksongkaew
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงเรียน คณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา อำเภอ เมืองยะลา จังหวัด ยะลา สัญลักษณ์ของโรงเรียนสัญลักษณ์ : ( เป็นรูปเชิงเทียน พญานาคสองหัว มีเทียนปักอยู่ตรงกลาง เปลวไฟกําลังเปล่งแสง สว่างโชติช่วง ) ความหมาย : เปลวไฟที่เจิดจ้าจากลำเทียน เป็นสัญลักษณ์บอกให้ทราบว่า " โรงเรียน คณะราษฏรบำรุง จังหวัดยะลา " เป็นสถานที่ให้ความสว่างทางปัญญาแก่นักเรียน เพื่อให้ออกไปเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพของประเทศชาติต่อไปในอนาคต อักษรย่อ : ค. บ. ต้นไม้ประจำโรงเรียน : - ธง / สีประจำโรงเรียน : เขียว - เหลือง คำขวัญอำเภอ / จังหวัด : ใต้สุดสยาม เมืองงามชายแดน อื่นๆ ( ถ้ามี )

 โรงเรียนคณะราษฎรบํารุง จังหวัดยะลา เป็นโรงเรียนที่เก่าแก่ที่สุดของ ยะลา แรกเริ่ม โรงเรียนนี้ตั้งอยู่หมู่ที่ ๓ บ้านลิมุด ตำบลท่าสาป เมื่อ พ. ศ. ๒๔๕๒ เปิดสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ โดยมีรองอำมาตย์ตรีสด สุขหุต เป็นครูใหญ่คน แรก ตั้งชื้อว่า " โรงเรียนจังหวัดยะลา " ประมาณ พ. ศ. ๒๔๕๕ พระยาณรงค์ฤทธิ์ศรี ประเทศ วิเศษวังษา เจ้าเมืองยะลาในสมัยนั้น ได้มอบเงินจำนวนหนึ่งให้สร้าง โรงเรียนใหม่ ที่ฝั่งขวาของแม่น้ำปัตตานี ซึ่งเป็นฝั่งเดียวกับที่ตั้งศาลากลาง จังหวัดยะลาในสมัยนั้น คือที่หมู่บ้างสะเตง และย้ายโรงเรียนมาจากบ้านลิมุด ปี พ. ศ. ๒๔๕๖ และขนานนาม ว่า โรงเรียนณรงค์ฤทธิ์ยะลาราษฎรบำรุง และขยายชั้น เรียนเพิ่มขึ้นทุกปี ตั้งแต่ พ. ศ. ๒๔๗๘ จัดสอนเป็น ๒ ระดับคือ ระดับประถมศึกษา มีชั้นประถม ศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ระดับชั้นมัธยมศึกษา มีชั้น มัธยมศึกษาปี่ที่ ๑ ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ ๔ ปี พ. ศ. ๒๔๗๙ โรงเรียนมีชั้นเรียน ๘ ชั้น คือ ชั้น จำนวนนักเรียนมีมากจนสถานที่เรียนไม่เพียงพอ และคับแคบ เมื่อ ได้รับงบประมาณแผ่นดิน จำนวน ๖, ๐๐๐ บาท และเงินสบทบ ของ สมาคมคณะ ราษฎร์ จังหวัดยะลา อีก ๒, ๐๐๐ บาทจึงมาสร้าง โรงเรียนใหม่ที่ หมู่บ้านนิบง ตำบลสะเตง อำเภอเมืองยะลา คือ ที่ตั้ง โรงเรียน ปัจจุบัน สร้างอาคารเรียนถาวร เป็นอาคารไม้ ๒ ชั้น มี ๖ ห้องเรียน และห้องมุข ขนาดใหญ่ใช้เป็นห้องเรียนได้อีก ๒ ห้อง สิ้นเงินงบก่อสร้าง ๘, ๐๐๐ บาท แล้วได้ย้ายโรงเรียนมาใน ปี พ. ศ. ๒๔๘๐ ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียน ใหญ่ว่า " โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง " เปิดสอนในระดับ มัธยมศึกษาตั้งแต่ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ต่อมาประมาณ ปี พ. ศ. ๒๔๙๖ กรมวิสามัธศึกษา ได้ประกาศปรับปรุงชื่อโรงเรียนเสียใหม่ทั่ว ประเทศ เพื่อความเหมาะสม จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น " โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา "  ประวัติโรงเรียน

รายละเอียดตามสาระการเรียนรู้ รายวิชาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร รายละเอียดข้อมูลทั่วไป รหัสวิชาง จำนวนชั่วโมงสอนเวลา 40 ชั่วโมง / 1 ภาคเรียน ชั้นที่สอนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่สอนภาคเรียนที่ 2 คำอธิบายรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศึกษาและอธิบายองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ แล้วสามารถนำกระบวนการ เทคโนโลยีสารสนเทศมา เป็นแนวทางในการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน ใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการประมวลผล และตัดสินใจในการทำงาน ติดต่อสื่อสารและค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ตอย่างมีคุณธรรม และจริยธรรม เขียนโปรแกรมภาษา เพื่อนำมาใช้ในการทำงานได้อย่างเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพ และนำความรู้และทักษะกระบวนการทางคอมพิวเตอร์มาใช้ในการพัฒนา โครงงานคอมพิวเตอร์ ( สารคดี ) ได้อย่างสร้างสรรค์ โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความรู้ เกิดทักษะการปฏิบัติ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการ เทคโนโลยีสารสนเทศในการแก้ปัญหา และการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มี คุณธรรมและจริยธรรม จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด ง 3.1 ม.4-6/1 ม.4-6/3 ม.4-6/5 ม.4-6/6 ม.4-6/7 ม.4-6/9 ม.4- 6/10 รวม 7 ตัวชี้วัด

คำอธิบายกิจกรรมสอดแทรกและบูรณาการ พัฒนาการ และแนวคิดของภาพยนตร์สารคดี ตลอดจนบทบาท และความสำคัญของภาพยนตร์ สารคดีที่มีต่อสังคม ฝึกปฏิบัติให้นักเรียนนำ ความคิด และแรงบันดาลใจที่ได้จากเรื่องจริงมา สร้างเป็นภาพยนตร์สารคดีในท้องถิ่น จุดมุ่งหมาการสอดแทรกและบูรณาการ พัฒนาการ และแนวคิดของภาพยนตร์สารคดี เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้ และเข้าใจคำจำกัด ความของภาพยนตร์สารคดี รูปแบบของภาพยนตร์ สารคดีต่างๆ ศึกษากระบวนการในการเขียนบท สารคดี รวมทั้งเทคนิคต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการถ่าย ทำภาพยนตร์สารคดี สอดแทรกสารคดีเพื่อ การศึกษาสอน