การพัฒนางานตาม ภารกิจหลัก สู่งานวิจัย “ จากงานประจำสู่ งานวิจัย ” (Routine to Research: R2R)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
การพัฒนางาน. หน่วยงาน. จังหวัด. พ. ศ ด้วยวิธี
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
Strategic Line of Sight
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนางานตาม ภารกิจหลัก สู่งานวิจัย “ จากงานประจำสู่ งานวิจัย ” (Routine to Research: R2R)

หัวข้อการเรียนรู้ ๑๓.๐๐ – ๑๔.๐๐ น. ๑. ความหมาย หลักการ และ ประโยชน์ ของ R2R ๒. การกำหนดโจทย์วิจัยจากภารกิจหลัก ๓. ระเบียบวิธีวิจัยแบบ R2R ๔. การปรับใช้ผลงานวิจัย ในการปรับปรุงและพัฒนางานประจำ ตามภารกิจ ๑๔.๐๐ – ๑๕.๒๐ น. ๕. ฝึกปฏิบัติ “สร้างสรรค์” ผลงาน R2R ๑๕.๒๐ – ๑๖.๐๐ น. ๖.ถอดบทเรียนการเรียนรู้ และ ร่วมกันสร้างสรรค์ผลงาน R2R แท้และดี ต่อๆไป อย่างยั่งยืน สิ่งที่พวกเราจะได้รับ คือ “ความรู้จริง” ใน R2R และ ผลงาน R2R เรื่องที่ ๑ ของเรา

พวกเรา ที่เป็น แม่ไก่ 1 คน สามารถสร้างนักวิจัย/ผลงานวิจัย เท่าใด? พวกเรา ที่เป็น แม่ไก่ 1 คน สามารถสร้างนักวิจัย/ผลงานวิจัย เท่าใด? ปีที่ 1. ได้ผลงานไม่น้อยกว่า 20 เรื่อง/คน เป็นลูกไก่  แม่ไก่ รุ่นที่ 2. (R2R ที่ลงตีพิมพ์เป็น Original Article) ปีที่ 2. ช่วยลูกไก่ ให้เป็นแม่ไก่รุ่นต่อไป 50% (R2R ที่ลงตีพิมพ์เป็น Original Article) x 20 เรื่อง/คน ได้ไม่น้อยกว่า 420 เรื่อง/คน ปีที่ 3. สร้าง และ ช่วยสร้าง แม่ไก่ รุ่นที่ 2. (R2R ที่ลงตีพิมพ์เป็น Original Article) 20 + (10 x 20) + [(10 x 20) x 20] เรื่อง/คน ได้ไม่น้อยกว่า 4,460 เรื่อง/คน ปีที่ 1. ได้ผลงานไม่น้อยกว่า 20 เรื่อง/คน เป็นลูกไก่  แม่ไก่ รุ่นที่ 2. (R2R ที่ลงตีพิมพ์เป็น Original Article) ปีที่ 2. ช่วยลูกไก่ ให้เป็นแม่ไก่รุ่นต่อไป 50% (R2R ที่ลงตีพิมพ์เป็น Original Article) x 20 เรื่อง/คน ได้ไม่น้อยกว่า 420 เรื่อง/คน ปีที่ 3. สร้าง และ ช่วยสร้าง แม่ไก่ รุ่นที่ 2. (R2R ที่ลงตีพิมพ์เป็น Original Article) 20 + (10 x 20) + [(10 x 20) x 20] เรื่อง/คน ได้ไม่น้อยกว่า 4,460 เรื่อง/คน รวม 4,900 เรื่อง/คน ใน 3 ปี

๑๓.๐๐ – ๑๔.๐๐ น. ๑. ความหมาย หลักการ และ ประโยชน์ ของ R2R ๒. การกำหนดโจทย์วิจัย จากภารกิจหลัก ๓. ระเบียบวิธีวิจัยแบบ R2R ๔. การปรับใช้ผลงานวิจัย ในการปรับปรุงและพัฒนา งานประจำ ตามภารกิจ

งานประจำ สู่ ผลงานวิชาการ งานประจำ สู่ ผลงานวิชาการ A = Academic R = Research R2 = Routine to R2A & R2R & R2E E = Excellence

กระบวนการ ในการทำให้ การทำงานที่พวกเราทำอยู่ทุกๆวัน เป็นผลงานวิจัย ที่ก่อให้เกิดการพัฒนา งาน / หน่วยงาน / องค์การ อย่างน่าภาคภูมิใจ และ มีความสุข ยิ่งๆขึ้น ตลอดไป กระบวนการ ในการทำให้ การทำงานที่พวกเราทำอยู่ทุกๆวัน เป็นผลงานวิจัย ที่ก่อให้เกิดการพัฒนา งาน / หน่วยงาน / องค์การ อย่างน่าภาคภูมิใจ และ มีความสุข ยิ่งๆขึ้น ตลอดไป R2R คือ อะไร?

เป็น วิจัย (Research) R2R ไม่ใช่ แบบการวิจัย (Research Design) การวิจัย ที่ไม่เกิดการพัฒนางาน เป็น R2R ปลอม (Pseudo R2R) (วิจารณ์ พานิช, 2556)

วิจัย คือ อะไร? วิจัย (Research) คือ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Process) ที่ใช้ในการหา “ความจริง” (Fact, Truth, Reality) วิจัย (Research) คือ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Process) ที่ใช้ในการหา “ความจริง” (Fact, Truth, Reality)

Concept (C) แนวทาง และ เป้าหมาย หลัก ของ R2R Concept (C) แนวทาง และ เป้าหมาย หลัก ของ R2R The Better Every Time The Better Every Time คือ

ลักษณะสำคัญของ R2R แท้และดี 1.เป็นงานที่ผู้วิจัยทำเอง และ เป็นความจริง (Routine & Fact) 2.เกิดการพัฒนา ที่มีหลักฐานยืนยัน (Evident Based Development/Improvement) 3.ใช้ระยะเวลาดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เกินกว่า 1 ปี (Longtime Continuous Implementation) 4.เป็นผลงานวิจัย ที่มีคุณค่าต่อทุกฝ่าย (Valuable Research Results for All) 5.ถูกต้องตามหลักของกระบวนการวิจัย (Correct to Research Methodology)

เป็นการวิจัย เพื่อแก้ปัญหา เป็นการวิจัย เพื่อแก้ปัญหา R2R R2R แท้และดี (R2R2E) เป็นการวิจัยเพื่อแก้ปัญหา อย่างยั่งยืน R2R แท้และดี (R2R2E) เป็นการวิจัยเพื่อแก้ปัญหา อย่างยั่งยืน

R2R แท้และดี (เป็น R2R2E) R2R แท้และดี (เป็น R2R2E) จึงเป็นกระบวนการทำงานของคนดี ที่มุ่งมั่นทำงานเพื่องาน และเพื่อผู้รับบริการ อย่างเสียสละ และ น่าชื่นชม มาเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน หลายๆปี ติดต่อกัน เป็นวิจัย เชิง ทดลอง

1.พัฒนางาน 2.พัฒนาคน 3.พัฒนาองค์การ 4.พัฒนาวิชาการ 5.พัฒนาประเทศชาติ R2R2E is 5 in 1 R2R2E is 5 in 1

โจทย์วิจัยใน R2R ประกอบด้วย ปัญหาวิจัย และ คำถามวิจัย (Research Problems : RP ) (Research Questions : RQ ) คือ การระบุว่า สิ่งที่วิจัย (งาน) นั้น มีลักษณะปัญหาเป็นอย่างใร จากอดีต ถึง ปัจจุบัน และ แนวโน้มในอนาคต และ แนวทาง/วิธีการ ในการแก้ปัญหา ควรทำอย่างไร จึงจะดีที่สุด ในบริบทของเรา

ปัญหาวิจัย (Research Problems: RP) คือ การระบุว่า สิ่งที่วิจัย (งาน) นั้น มีลักษณะปัญหา เป็นอย่างใร จากอดีต ถึง ปัจจุบัน และ แนวโน้มในอนาคต ใน 4 ประเด็น/องค์ประกอบ ได้แก่ 1.ตัวปัญหา [P=(E-A) x C] 2.ผลของตัวปัญหา ในแต่ละตัวปัญหา 3.สาเหตุของตัวปัญหา 4.แนวทาง/วิธีการ ในการแก้ปัญหา ที่ได้ทำมาแล้ว

องค์ประกอบของปัญหาวิจัย (Composition of Research Problems) 1. ตัวปัญหา [P=(E-A) x C] (The Problems) ทั้ง 5 ด้าน คือ ด้านปริมาณงานที่ทำ และ ที่ได้รับจากการทำงาน, ด้านคุณภาพ งานที่ได้รับจากการทำงาน, ด้านเวลาและ แรงงาน ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน, ด้านความไม่พึงพอใจ ต่อผลการดำเนินงานของผู้เกี่ยวข้อง และ ด้านเศรษฐศาสตร์ของการดำเนินงาน 2. ผลของตัวปัญหา (Results of The Problems) ในแต่ละตัวปัญหา ทั้ง 5 ด้าน ของข้อ 1 ต่อบุคคล หน่วยงาน/องค์การ ชุมชน ประเทศชาติ และ ต่อโลก ทั้งเชิงบวก และ เชิงลบ 3. สาเหตุของตัวปัญหา (Causes of The Problems) ทั้งด้านตัวงาน, ด้านทรัพยากรที่ใช้ในการทำงาน ด้านสิ่งแวดล้อมในขณะที่ปฏิบัติงาน และ ด้าน SEC ของผู้เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน 4. แนวทาง/วิธีการ ในการแก้ปัญหา (Solving The Problems) ที่ได้ทำมาแล้ว พร้อมผลการแก้ปัญหา รวมทั้งข้อเสนอแนะ (จากอดีต ถึง ปัจจุบัน และ แนวโน้มในอนาคต) โดย แต่ละประเด็น เริ่มจากระดับโลก ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ ระดับภาค/กลุ่ม และ ระดับพื้นที่วิจัย

P RINCIPLE OF P ROBLEM A NALYSIS INFORMATION SYSTEM & COMMUNICATION SYSTEM NATURE OF WORK ENVIRON- MENT CAUSES OF OFPROBLEMCAUSES PROBLEM ADMINISTRATOR PROVIDER COSTOMER MONEY MATERIAL SYSTEM OF WORK MINUTE S.E.C. THE PROBLEM RESULTs OF PROBLEM RESULTs OF PROBLEM O UTSIDE I NSIDE - LOW PERFORMANCE * QUANTITY * QUALITY - LONG TIME - UNSATISFY - NOT ECONOMIZE * MAN, MATERIAL * MONEY, TECNOLOGY (5Ds, 5Ws, 1H) - CUSTOMERS - PROVIDERS - ORGANIZATION - COMMUNITY - NATION S.E.C. = Socio-Economic-Cultural T HERE ARE MULTIPLE CAUSES IN ONE PROBLEM. E VERY PROBLEM CAN BE SOLVED. W E ATTACK ON CAUSES AND MEASURE AT THE PROBLEM. (สมชาติ โตรักษา, 2548: 79)

ตัวปัญหาของงาน ที่ต้องการพัฒนา (The Problems) คือ ผลการดำเนินงานที่ผ่านๆมา ของงาน ที่ต้องการพัฒนา ที่ยังไม่ดี เมื่อเทียบกับความคาดหวังของผู้ที่เกี่ยวข้อง ทุกๆฝ่าย [P=(E-A)C] ประกอบด้วย 1. ตัวปัญหาด้านปริมาณงานที่ทำ และ ที่ได้รับจากการทำงาน ได้แก่ ตัวปัญหาด้านคุณภาพงานที่ได้รับจากการทำงาน ได้แก่ ตัวปัญหาด้านเวลาและแรงงาน ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ได้แก่ ตัวปัญหาด้านความไม่พึงพอใจต่อผลการดำเนินงานของผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ ตัวปัญหาด้านเศรษฐศาสตร์ของการดำเนินงาน ได้แก่ (เอกสารอ้างอิง )

คำถามวิจัย (Research Questions: RQ) คือ การตั้งคำถาม ว่า เรา “ต้องการ” จะทำ/ค้นหา อะไร? ในการวิจัยครั้งนี้ คือ การตั้งคำถาม ว่า เรา “ต้องการ” จะทำ/ค้นหา อะไร? ในการวิจัยครั้งนี้ และ สิ่งที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ จะ “เกิดประโยชน์” อะไร? และ สิ่งที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ จะ “เกิดประโยชน์” อะไร?

1.เรา “ต้องการ” จะทำ/ค้นหา อะไร? 2.สิ่งที่ทำ/ค้นหา นี้ จะนำไปสู่ “การแก้ปัญหา” ที่ยั่งยืน ได้อย่างไร? 1.เรา “ต้องการ” จะทำ/ค้นหา อะไร? 2.สิ่งที่ทำ/ค้นหา นี้ จะนำไปสู่ “การแก้ปัญหา” ที่ยั่งยืน ได้อย่างไร? การกำหนด/ระบุ คำถามวิจัย ใน R2R การกำหนด/ระบุ คำถามวิจัย ใน R2R

คือ “วิธีการ” ในการแก้ปัญหา ที่ดีกว่าเดิม ยิ่งๆขึ้น คือ “วิธีการ” ในการแก้ปัญหา ที่ดีกว่าเดิม ยิ่งๆขึ้น สิ่งที่เรา “ต้องการ” จะค้นหา สิ่งที่เรา “ต้องการ” จะค้นหา

คำถามวิจัยหลักใน R2R (Main Research Questions) แนวทาง/วิธีการ ในการแก้ปัญหา ที่ชัดเจน และ มั่นใจได้ว่า สามารถนำไปสู่การแก้ปัญหา อย่างยั่งยืนได้ โดยใช้ทรัพยากรเท่าที่มีอยู่ นั้น เป็นอย่างไร?

๓.ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology) ของ R2R

หัวข้อหลักของระเบียบวิธีวิจัย 1. แบบการวิจัย (Research Designs) 2. ประชากร และ กลุ่มตัวอย่าง (Population & Sample) 3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย (Research Instruments) 3.1 เครื่องมือที่ใช้เป็น Research Intervention ในการวิจัยเชิงทดลอง 3.2 เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลการวิจัย 4. ขั้นตอนในการทำวิจัย (Research Steps) 5. การเก็บข้อมูลในการวิจัย (Data Collection) 6. การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัย (Data Analysis) 7. วิธีการทางสถิติที่ใช้ในการวิจัย (Statistical Methods used)

Research Design เป็นวิจัยได้หลากหลายแบบ (Design) ทั้งการวิจัยเชิงพรรณนา การวิจัยเชิงสำรวจ การวิจัยเชิง ปฏิบัติการ การวิจัย R&D การวิจัยเชิงทดลอง การวิจัยกึ่ง ทดลอง การวิจัยพัฒนาเชิงทดลอง การวิจัยเชิงคุณภาพ ฯลฯ ทั้งแบบกลุ่มเดียว, 2 กลุ่ม, หลายกลุ่ม ขึ้นอยู่กับเรื่อง ประเด็น และ วัตถุประสงค์ ของการวิจัยแต่ละเรื่อง R2R เป็นวิจัยพัฒนาเชิงทดลอง (Experimental Development Research) แบบกลุ่มเดียว วัดผล ก่อน และ หลัง การทดลอง (one group, pre-test and post-test design) R2R แท้และดี ทั่วๆไป ที่ไม่ยุ่งและไม่ยากมาก

สิ่งที่ใช้ในการทดลอง Research Intervention คือ รูปแบบการดำเนินงาน ที่พัฒนาขึ้น โดยมีการปรับปรุงพัฒนาเป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่อง ด้วยการนำหลัก Management by Participation มาประยุกต์แบบบูรณาการ นำไปทดลองที่ หน่วยงาน ระหว่างวันที่ ถึง

พื้นที่วิจัย คือ ตำบล อำเภอ จังหวัด เหตุผลในการคัดเลือกเป็นพื้นที่วิจัย คือ

ประชากร และ กลุ่มตัวอย่าง (Population & Sample) ประชากร คือ การดำเนินงาน ในแต่ละครั้ง ตั้งแต่ ……….. – ………… รวมทั้งสิ้น …… ครั้ง กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชากรทั้งหมด ในช่วงที่ทดลอง รวม …… ครั้ง กลุ่มตัวอย่างผู้ปฏิบัติงานและให้ข้อมูลด้านความคิดเห็น คือ ในพื้นที่วิจัย ที่ขึ้นปฏิบัติงานในช่วงที่เก็บข้อมูล รวมทั้งสิ้น คน

เครื่องมือ ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลการวิจัย (Research Instruments for Data Collection) 1.แบบบันทึกข้อมูลลักษณะพื้นฐานของพื้นที่วิจัย 2.แบบบันทึกข้อมูลพื้นฐานของงาน และ การดำเนินงาน แบบบันทึกการปฏิบัติงาน และ ผลการปฏิบัติงาน ของงาน แบบสังเกตุการปฏิบัติงาน และ สิ่งที่มีผลต่อการดำเนินงาน ของงาน แบบสอบถามความพึงพอใจ และ ข้อเสนอแนะ ของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน แบบบันทึกการประชุมกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน และ คณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง 7.แบบบันทึกเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน แบบสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน กล้องถ่ายรูป

แบบบันทึกผลการ ดำเนินงานประจำเดือน แบบสัมภาษณ์เชิงลึก แบบสังเกตุการปฏิบัติงาน และ สิ่งที่มีผลต่อการ ดำเนินงาน แบบสอบถามความพึง พอใจและข้อเสนอแนะ แบบบันทึกการปฏิบัติงาน และ ผลการปฏิบัติงาน แบบบันทึกเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนในการทำวิจัย มี 3 Phase ตามหลักการวิจัยเชิงทดลอง คือ 1. ก่อนการทดลอง (Pre-Experimental Phase) โดยการ วิเคราะห์ รูปแบบการดำเนินงานเดิม วิธีการดำเนินงาน และ ผลการ ดำเนินงานที่ผ่านมา ในการดำเนินงาน ร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง เพื่อหาจุดหรือประเด็น ที่ต้องปรับปรุงแก้ไข พร้อมทั้งศึกษา วรรณกรรม ทั้งทฤษฎี หลักการ นโยบาย แผนงาน แนวทางการ ดำเนินงาน และผลงาน ที่เกี่ยวข้อง แล้วนำมาประยุกต์ในพื้นที่ 2. ขณะทดลอง (Experimental Phase) โดยการนำรูปแบบการ ดำเนินงานที่พัฒนาขึ้น ไปดำเนินการ มีการทบทวน ติดตาม ประเมิน ผลการดำเนิน และ ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น เป็นระยะๆ แล้วนำผลที่ได้ มาปรับปรุงระบบงาน/วิธีการ กระบวนงาน และ วิธีปฏิบัติ ในการดำเนินงาน ให้เหมาะสม และ มีประสิทธิภาพ ยิ่งๆขึ้น ในช่วงเวลาต่อๆมา 3. หลังการทดลอง (Post-Experimental Phase) โดยการนำข้อมูล ทั้งหลาย ที่ได้จากการดำเนินงาน มารวบรวม วิเคราะห์ และ สรุป ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย

ขั้นตอน และ วิธีการ ในการสร้างและพัฒนารูปแบบการดำเนินงานใหม่ ดำเนินการอย่างครบวงจร (Cycle) ในแต่ละปี เป็น 4 ขั้นตอน คือ วิเคราะห์รูปแบบการดำเนินงานเดิม ของงาน ร่วมกับ ผู้เกี่ยวข้อง เพื่อหาจุดหรือประเด็น ที่ต้องปรับปรุงแก้ไข กำหนดรูปแบบ/ระบบ/วิธีการ ใหม่ เบื้องต้น โดยการนำทฤษฎี และ หลักวิชาการที่เกี่ยวข้อง มาประยุกต์ ในการปรับปรุง กระบวนการดำเนินงาน ให้สอดคล้องกับบริบทของ พื้นที่ทดลอง ด้วยทรัพยากรที่มีอยู่ เน้นที่ความเหมาะสม Practical และ ประสิทธิภาพการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2

นำรูปแบบ/ระบบงาน/วิธีการ ใหม่ เบื้องต้น ที่พัฒนาขึ้น ไป ดำเนินการทดลอง โดยมีการติดตาม ทบทวน ประเมิน ผลการ ดำเนิน และ ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น เป็นระยะๆ แล้วนำผลที่ได้ มาปรับปรุงระบบงาน/วิธีการ/กระบวนงาน และ วิธีปฏิบัติ ในการ ดำเนินงานให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ยิ่งๆขึ้น ในช่วงต่อๆมา สรุปผลการดำเนินงาน ด้วยการนำข้อมูลทั้งหลาย จากขั้นตอนที่ 1-3 มารวบรวม วิเคราะห์ และ สรุป เป็นรูปแบบใหม่ของการ ดำเนินงาน ที่ได้ผ่านการนำไปใช้จริงในพื้นที่ทดลองแล้ว รวม.....ปี ที่เป็นผลของการวิจัย ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ในปีนั้น ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอน และ วิธีการ (ต่อ)

การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัย Data Analysis ใช้ Descriptive Statistics Inferential Statistics (ถ้าดี) และ Content Analysis

การวิเคราะห์ข้อมูล และ สถิติที่ใช้ ดังนี้ 1.ข้อมูลลักษณะทั่วไปของประชากร วิเคราะห์ด้วย Descriptive Statistics 2.การเปรียบเทียบข้อมูลลักษณะทั่วไปของประชากร ระหว่าง ก่อน กับ หลัง การทดลอง วิเคราะห์ด้วย Descriptive Statistics และ Content Analysis 3.การเปรียบเทียบข้อมูลผลการดำเนินงาน ระหว่าง ก่อน กับ หลัง การทดลอง เชิงปริมาณ วิเคราะห์ด้วย Descriptive Statistics, Inferential Statistics และ Content Analysis 4.การเปรียบเทียบข้อมูลผลการดำเนินงานเชิงคุณภาพ ระหว่าง ก่อน กับ หลัง การทดลอง วิเคราะห์ด้วย Descriptive Statistics และ Content Analysis 5.ข้อมูลเชิงคุณภาพ วิเคราะห์ด้วย Content Analysis

๔.การปรับใช้ (Utilizing) ผลงานวิจัย ในการปรับปรุง และ พัฒนา งานประจำ ตามภารกิจ

สิ่งที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ 1.ได้รูปแบบ/ระบบงาน/วิธีการ ใหม่ ของการดำเนินงาน ที่ได้ผ่านการนำไปใช้จริงในพื้นที่แล้ว รวม.....ปี 2.ได้ประสบการณ์ในการดำเนินงานพัฒนางาน อย่าง ต่อเนื่อง รวม.....ปี 3.ได้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน และ ผลการดำเนิน งาน ในการพัฒนางาน อย่างต่อเนื่อง รวม.....ปี 4.ได้ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับงาน การวิเคราะห์ การกำหนด ตัวชี้วัด การสร้างเครื่องมือวัดและการวัดผลการดำเนินงาน การประเมินผลการดำเนินงาน และ การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 5.ได้ความคิดที่สร้างสรรค์ และประสบการณ์จริง ในการพัฒนา งานด้วยทรัพยากรที่มีอยู่ 6.ได้ประสบการณ์ การทำวิจัยเพื่อการแก้ปัญหาที่ได้ผลจริง ตาม Principle of Utilizing

Personnel Improvement Work Improvement Self Improvement Others Improvement Organization Improvement มาตรฐานทางวิชาการ / การ ปฏิบัติ (Standard) OutsideInside Training Analysis & Synthesis การสร้าง / พัฒนารูปแบบการทำงาน (Model Development) Reference Data R&D Training InstituteStudy Model Present & Publish การนำไปใช้ประโยชน์ ( Utilizing ) Every MonthEvery Day Every Time Every WeekEvery Year สิ่งที่ได้จากการ ดำเนินงาน (Outcomes of Working) Data Objects Experiences Knowledge Idea การดำเนินงาน (Working) Processes Outputs Feedback Inputs Principle of Utilizing (ดัดแปลงจาก: สมชาติ โตรักษา, 2548: 307)

ประเด็นวิเคราะห์ สิ่งที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ 1. มีคุณ มีประโยชน์ ศักยภาพ และ ความสามารถ ในการ นำไปใช้ หรือ ก่อให้เกิดประโยชน์ ในพื้นที่ และ สภาวการณ์ ต่างๆ อะไรบ้าง และ อย่างไร 2. สมควร/สามารถ นำไปใช้ หรือ ดำเนินการ ให้เกิดประโยชน์ อะไรได้บ้าง และ อย่างไร ทั้งในปัจจุบัน และ อนาคต 3. ได้มีการนำสิ่งที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ แล้ว อะไรบ้าง อย่างไร และ ควร/สามารถ นำไปใช้ หรือ ดำเนินการ ให้เกิดประโยชน์ยิ่งๆขึ้น อะไรได้บ้าง และ อย่างไร ในอนาคต

วิธีการ ในการปรับใช้ผลงานวิจัย ในการปรับปรุง และ พัฒนา งานประจำ ตามภารกิจ ด้วยการใช้ 1. Principle of Managing อย่างเป็นระบบ ครบวงจร และ ต่อเนื่อง ตลอดเวลา และ ตลอดไป 2. ใช้เทคนิก How to do? อย่างครบถ้วน 3. ใช้กลยุทธ์ การพัฒนางานของเรา อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ด้วยแนวคิดของ R&D for CSWI  R2R2E คือ ทำงานของเราให้เป็นผลงานวิจัย ที่อวดได้ทั่วโลก

Principle of Managing Situation Analysis Situation Analysis Monitoring Controlling Coordinating Utilizing Implementing Inside Outside Information System & Communication System * * Evaluating Planning Continuing EOP Managing is The working process to achieve the most efficiency outcomes and the better. It composes of 8 main activities (elements). (สมชาติ โตรักษา, 2557: 26)

1.How to Start? 2.How to Achieve? 3.How to Maintain? 4.How to Expand? and 5.How to be Sustainable Improvement Forever? 1.How to Start? 2.How to Achieve? 3.How to Maintain? 4.How to Expand? and 5.How to be Sustainable Improvement Forever? How to do? in Management How to do? in Management mean

1.จะเริ่มต้นอย่างไร? 2. จะดูแลควบคุมให้มุ่งสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้ อย่างรวดเร็ว ทันใจ และ มีประสิทธิภาพสูง ได้อย่างไร? 3. จะบำรุงรักษาสิ่งที่ได้ทำมา จนบรรลุเป้าหมายนั้น ให้ดีและคง อยู่อย่างมั่นคง ได้อย่างไร? 4. จะขยายผล และ พัฒนา ให้ดียิ่งๆขึ้น ทั้งแนวกว้าง และ แนวลึก ได้อย่างไร? และ 5. จะทำให้มีการเจริญเติบโต อย่างต่อเนื่อง มั่นคง และ ยั่งยืน ได้อย่างไร? ในการพัฒนางาน ของเรา สู่งานคุณภาพมาตรฐาน อย่างยั่งยืน ในการพัฒนางาน ของเรา สู่งานคุณภาพมาตรฐาน อย่างยั่งยืน How to do? ใช้เวลารวมทั้งสิ้น ประมาณ 5 ปี จึงจะยืนยันได้ชัดเจนและแน่นอน

แนวคิด หลักการ และ วิธีการ ในการทำ Routine to Research (R2R) อย่างมีความสุข (Happy) และ มีผลผลิต (Productivity) ที่ดี อย่างยั่งยืน แนวคิด หลักการ และ วิธีการ ในการทำ Routine to Research (R2R) อย่างมีความสุข (Happy) และ มีผลผลิต (Productivity) ที่ดี อย่างยั่งยืน 

Concept หลัก และ เป้าหมาย ของ R2R Concept หลัก และ เป้าหมาย ของ R2R CI (Continuous Improvement) ในงาน “ทุกงาน” ที่พวกเราทำ CI (Continuous Improvement) ในงาน “ทุกงาน” ที่พวกเราทำ คือ

พวกเรา ทำวิจัยมาแล้ว กี่เรื่อง? พวกเรา ทำวิจัยมาแล้ว กี่เรื่อง?

C1. พวกเรา ได้ “ทำ” วิจัย ในงานที่พวกเรา “ทำ” ตั้งแต่วันแรก ที่พวกเราเข้าทำงาน และ ยังคงทำอยู่ และ ตั้งใจที่จะทำต่อไป..... C1. พวกเรา ได้ “ทำ” วิจัย ในงานที่พวกเรา “ทำ” ตั้งแต่วันแรก ที่พวกเราเข้าทำงาน และ ยังคงทำอยู่ และ ตั้งใจที่จะทำต่อไป..... คือ ทำ R2R อยู่ทุกวัน ตลอดเวลา เนื่องจาก ใช้ Brain ในการทำงาน

C2. งานทุกงาน ที่พวกเรา“ทำ” อยู่ในปัจจุบัน ได้รับการ “ทำ R2R” โดย พวกเรา ที่ได้ทำงานนี้ มาตั้งแต่วันแรก ที่งานนี้เกิดขึ้น ในหน่วยงาน ของพวกเรา ได้ทำต่อเนื่อง มาจนถึงทุกวันนี้ และ ตั้งใจที่จะทำต่อๆไป อย่างไม่สิ้นสุด C2. งานทุกงาน ที่พวกเรา“ทำ” อยู่ในปัจจุบัน ได้รับการ “ทำ R2R” โดย พวกเรา ที่ได้ทำงานนี้ มาตั้งแต่วันแรก ที่งานนี้เกิดขึ้น ในหน่วยงาน ของพวกเรา ได้ทำต่อเนื่อง มาจนถึงทุกวันนี้ และ ตั้งใจที่จะทำต่อๆไป อย่างไม่สิ้นสุด

การ “ทำ” งาน อย่างต่อเนื่อง (R2R2E) เป็น การ “ทำ” งาน อย่างครบวงจร ต่อเนื่อง ตามแต่ละช่วงเวลา นำไปสู่การพัฒนา ที่มั่นคง และ ยั่งยืน (Continuous & Sustainable Improvement: CSI) เริ่มต้น ดำเนินการ ทดลอง /พัฒนา เริ่มต้น ดำเนินการ ทดลอง /พัฒนา X = รูปแบบการดำเนินงาน (Working Model) O = ผลการดำเนินงานตามดัชนีชี้วัด (Working Outputs) X = รูปแบบการดำเนินงาน (Working Model) O = ผลการดำเนินงานตามดัชนีชี้วัด (Working Outputs) เริ่มต้น “ทำ” งาน เริ่มต้น “ทำ” งาน ก่อนทดลอง หลังทดลอง เวล า ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา X5X5 X5X5 สิ่งที่ใช้ ในการทดลอง /พัฒนา สิ่งที่ใช้ ในการทดลอง /พัฒนา X1X1 X1X1 X2X2 X2X2 X3X3 X3X3 X4X4 X4X4 X6X6 X6X6 O1O1 O1O1 O2O2 O2O2 O3O3 O3O3 O5O5 O5O5 ผลการ ดำเนินงาน O4O4 O4O4 O6O6 O6O6

ในแต่ละครั้ง ที่พวกเราตั้งใจ ทำงาน อย่างมีคุณภาพ ในแต่ละครั้ง ที่พวกเราตั้งใจ ทำงาน อย่างมีคุณภาพ ในครั้งนั้น พวกเราได้ทำวิจัย เสร็จไปแล้ว 1 เรื่อง ! By Brain ในครั้งนั้น พวกเราได้ทำวิจัย เสร็จไปแล้ว 1 เรื่อง ! By Brain

ในแต่ละปี พวกเราได้ทำวิจัย ในงานประจำของเรา ในแต่ละปี พวกเราได้ทำวิจัย ในงานประจำของเรา ไม่น้อยกว่า 100 เรื่อง ไม่น้อยกว่า 100 เรื่อง โดยทำได้ดีมาก ประมาณ 10% โดยทำได้ดีมาก ประมาณ 10% ทุกเรื่อง สามารถเขียนเป็นผลงาน R2R ได้ทั้งสิ้น ทุกเรื่อง สามารถเขียนเป็นผลงาน R2R ได้ทั้งสิ้น

การทำวิจัย ประกอบด้วย 1. การคิดจะทำวิจัย 2. การเขียนโครงร่าง ( แผนงาน ) การทำวิจัย 4. การลงมือทำวิจัย 4.1 การเตรียมการก่อนเก็บข้อมูล 4.2 การเก็บข้อมูล 4.3 การวิเคราะห์ข้อมูล 4.4 การสรุปผลข้อมูลการวิจับ 4.5 การอภิปรายผลการวิจัย และ ให้ข้อเสนอแนะ 4. การลงมือทำวิจัย 4.1 การเตรียมการก่อนเก็บข้อมูล 4.2 การเก็บข้อมูล 4.3 การวิเคราะห์ข้อมูล 4.4 การสรุปผลข้อมูลการวิจับ 4.5 การอภิปรายผลการวิจัย และ ให้ข้อเสนอแนะ 5. การเขียนรายงานผลการทำวิจัย 6. การเผยแพร่ผลงานวิจัย 3. การนำเสนอโครงร่างการทำวิจัย เพื่อขออนุมัติการทำวิจัย 3. การนำเสนอโครงร่างการทำวิจัย เพื่อขออนุมัติการทำวิจัย 7. การขยายผลการทำวิจัย ข้อใด ที่พวกเรา ทำได้ดี (เก่ง)

การทำวิจัย ในงานประจำ การทำวิจัย ในงานประจำ 2.งานที่กำลังทำอยู่ 1. งานที่ทำไปแล้ว 3.งานที่จะทำในอนาคต งานใดที่ต้องเขียน Proposal?

พวกเรา ทำวิจัยมาแล้ว “หลาย…”เรื่อง! แต่ไม่ได้ “เขียน” ผลงานวิจัย ที่เปี่ยมไปด้วยคุณภาพ ตามความสามารถ และคุณค่าที่แท้จริง ของผลงานวิจัยนั้น และ ของพวกเรา พวกเรา ทำวิจัยมาแล้ว “หลาย…”เรื่อง! แต่ไม่ได้ “เขียน” ผลงานวิจัย ที่เปี่ยมไปด้วยคุณภาพ ตามความสามารถ และคุณค่าที่แท้จริง ของผลงานวิจัยนั้น และ ของพวกเรา

ได้ทำวิจัย ในงานของเรา มาแล้วมากมาย ได้ทำวิจัย ในงานของเรา มาแล้วมากมาย จุดแข็งของพวกเรา ในการสร้างสรรค์ผลงาน R2R จุดแข็งของพวกเรา ในการสร้างสรรค์ผลงาน R2R คือ

งานวิจัย ทำเสร็จแล้ว แต่ไม่ได้เขียนผลงานวิจัย เผยแพร่ในวารสาร ให้ทราบทั่วกัน ทำเสร็จแล้ว แต่ไม่ได้เขียนผลงานวิจัย เผยแพร่ในวารสาร ให้ทราบทั่วกัน เปรียบเสมือน ไม่ได้ทำ! เปรียบเสมือน ไม่ได้ทำ! สภาวิจัยแห่งชาติ (วช.)

เขียน/นำเสนอ ผลงานวิจัยได้ไม่ดี เขียน/นำเสนอ ผลงานวิจัยได้ไม่ดี ปัญหา (จุดอ่อน) หลัก ในการสร้างสรรค์ผลงานวิจัย ของพวกเรา ปัญหา (จุดอ่อน) หลัก ในการสร้างสรรค์ผลงานวิจัย ของพวกเรา คือ

พวกเรา จะทำ อย่างไร? (How to do?) พวกเรา จะทำ อย่างไร? (How to do?)

เขียน และนำเสนอ เขียน และนำเสนอ ผลงานวิจัย ของพวกเรา ผลงานวิจัย ของพวกเรา บ่อยๆ

CSI ในงานประจำ CSI ในงานประจำ เป้าหมายของ R2R คือ

เป้าหมายแรกของพวกเรา นำเสนอผลงานวิจัย Oral Presentation คนละ 3-5 นาที ในเวทีวิชาการ ม.ราชภัฏลำปาง นำเสนอผลงานวิจัย Oral Presentation คนละ 3-5 นาที ในเวทีวิชาการ ม.ราชภัฏลำปาง วันที่ 6 ตุลาคม 2557 เวลา 15 น. เป็นต้นไป

วิธีการ ในการ “ เขียน ” ผลงานวิจัย จากงานประจำ วิธีการ ในการ “ เขียน ” ผลงานวิจัย จากงานประจำ 2.ผลงานประจำ ที่จะทำใหม่ (เริ่มจากเขียน Proposal) 2.ผลงานประจำ ที่จะทำใหม่ (เริ่มจากเขียน Proposal) 1. ผลงานประจำ ที่ทำเสร็จแล้ว ใช้เวลาเขียนประมาณ 1 เดือน 1. ผลงานประจำ ที่ทำเสร็จแล้ว ใช้เวลาเขียนประมาณ 1 เดือน ใช้เวลาทำและเขียน ไม่น้อยกว่า 6 เดือน ถ้าจะให้เป็น R2R แท้ และ ดี ต้องใช้เวลาทำและเขียน>42 เดือน พวกเรา จะเลือกข้อใหน?

๑๔.๐๐ – ๑๕.๒๐ น. ๕. การฝึกปฏิบัติ “สร้างสรรค์” ผลงาน R2R เรื่องที่ ๑

การพัฒนา การเขียน และ นำเสนอ ผลงาน R2R เรื่องที่๑ อย่างมีความสุข การพัฒนา การเขียน และ นำเสนอ ผลงาน R2R เรื่องที่๑ อย่างมีความสุข 

การเขียนผลงานวิจัย จากงานประจำ ที่ทำเสร็จแล้ว การเขียนผลงานวิจัย จากงานประจำ ที่ทำเสร็จแล้ว ใช้เวลาเขียนและพัฒนา เพียง 1 เดือน (วัน) ก็สามารถนำเสนอ Oral Presentation ได้ พวกเรา ไม่ต้องเขียน Proposal ไม่ต้องสร้างและทดสอบเครื่องมือ ไม่ต้อง Defend Proposal ไม่ต้องขอ “งบประมาณ” ไม่ต้องขอจริยธรรม (EC) พวกเรา ไม่ต้องเขียน Proposal ไม่ต้องสร้างและทดสอบเครื่องมือ ไม่ต้อง Defend Proposal ไม่ต้องขอ “งบประมาณ” ไม่ต้องขอจริยธรรม (EC)

การเลือก เรื่อง R2R ที่จะเขียน การเลือก เรื่อง R2R ที่จะเขียน เลือกเรื่องที่ เราได้ประโยชน์ และ มีประสิทธิภาพ สูงสุด

เรื่องที่จะเขียนและนำเสนอ เป็น ผลงานวิจัย R2R เรื่องแรกๆของเรา เรื่องที่จะเขียนและนำเสนอ เป็น ผลงานวิจัย R2R เรื่องแรกๆของเรา เทคนิคการเลือก เราเลือก งานที่เราทำไปแล้ว มีความสุข และ ภาคภูมิใจ ทุกครั้ง ที่นึกถึง เราเลือก งานที่เราทำไปแล้ว มีความสุข และ ภาคภูมิใจ ทุกครั้ง ที่นึกถึง เพื่อเสริมพลัง และเพิ่มความสุขให้กับพวกเรา เพื่อเสริมพลัง และเพิ่มความสุขให้กับพวกเรา

1. งาน งาน งาน งาน งาน งาน งาน งาน งาน งาน งาน งาน งาน งาน งาน งาน งาน งาน งาน งาน งานประจำ ของข้าพเจ้า มีดังต่อไปนี้ งานประจำ ของข้าพเจ้า มีดังต่อไปนี้

1. งาน งาน งาน งาน งาน งาน งานประจำ ที่ ข้าพเจ้า ชอบมากที่สุด 3 อันดับแรก คือ งานประจำ ที่ ข้าพเจ้า ชอบมากที่สุด 3 อันดับแรก คือ

ในช่วง 3-5 ปีที่ผ่านมา ผลงาน ที่ข้าพเจ้าได้ทำกับมือ และ ภาคภูมิใจ มากที่สุด และ งานนี้พวกเรายังทำอยู่ คือ ผลงาน เนื่องจาก ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………….

งานประจำ ที่ข้าพเจ้าตั้งใจจะเขียนเป็นผลงานวิจัยR2R เรื่องที่ ๑ ของข้าพเจ้า งานประจำ ที่ข้าพเจ้าตั้งใจจะเขียนเป็นผลงานวิจัยR2R เรื่องที่ ๑ ของข้าพเจ้า คือ งาน …………………………………….……………… หน่วยงาน ……………………….…………………… คือ งาน …………………………………….……………… หน่วยงาน ……………………….…………………… จุดเด่นของ ผลการดำเนินงาน ในช่วง 3-5 ปีที่ผ่านมา คือ ………………………………………….……………… …………………………………….…………………… …………………………………………………………. จุดเด่นของ ผลการดำเนินงาน ในช่วง 3-5 ปีที่ผ่านมา คือ ………………………………………….……………… …………………………………….…………………… ………………………………………………………….

ในการเขียนและนำเสนอ ผลงานวิจัย R2R ในการเขียนและนำเสนอ ผลงานวิจัย R2R เทคนิคการเรียนลัด ๑.สรุปสาระสำคัญของการวิจัย  บทคัดย่อ ๔. จัดทำ “ นิพนธ์ต้นฉบับ ” (Original Paper/Article) ลงตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ ๔. จัดทำ “ นิพนธ์ต้นฉบับ ” (Original Paper/Article) ลงตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ ๒. จัดทำ Slide การนำเสนอผลงานวิจัย ประมาณ 20 Slides ๒. จัดทำ Slide การนำเสนอผลงานวิจัย ประมาณ 20 Slides ๓.Present ผลงานวิจัย ในที่ประชุม ด้วย แนวคิด หลักการ และ วิธีการ ของ KM

๕.๑ การเขียน สรุปสาระสำคัญ ของการวิจัย  บทคัดย่อ ๕.๑ การเขียน สรุปสาระสำคัญ ของการวิจัย  บทคัดย่อ

บทคัดย่อ ผลงานวิจัย (Abstract) บทคัดย่อ ผลงานวิจัย (Abstract) คือ เอกสารสรุป ผลงานวิจัย ที่ต้องการนำเสนอ 1 Paper คือ เอกสารสรุป ผลงานวิจัย ที่ต้องการนำเสนอ 1 Paper

1.ชื่อเรื่อง (Topic) ทำอะไร? กับใคร? ที่ไหน? เมื่อไร? ด้วยวิธีใด? 2.ชื่อนักวิจัย (Researchers) รวมกันไม่เกิน 6 ชื่อ ในกรณีที่เกิน ให้ใช้คำว่า “และคณะ” แทน 3.บทนำ (Introduction) ความหมาย ความเป็นมา และ ความสำคัญ ของงาน และ ปัญหา ในการศึกษา/วิจัย 4.วัตถุประสงค์ (Objective) สิ่งที่ต้องการศึกษา/วิจัย อย่างสั้น รัดกุม ได้ใจความ 5.วิธีการศึกษา (Research design & Methodology) แบบการวิจัย ประชากรและการกำหนดกลุ่มตัวอย่าง การเก็บข้อมูล การวัดผล การศึกษา เครื่องมือที่ใช้ การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ 6.ผลการศึกษา (Results) ผลการศึกษาที่สำคัญ รัดกุม และ ชัดเจน สอดคล้องกับ “วัตถุประสงค์” 7.สรุป และ ข้อเสนอแนะ (Conclusion & Recommendation) สรุปสิ่งที่ได้จากการศึกษา และ ข้อเสนอแนะในการนำสิ่งที่ได้ ไปใช้ประโยชน์ ทั้งสำหรับพื้นที่วิจัยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ สำหรับการทำวิจัยต่อไป 8.คำสำคัญ Key Words หัวข้อหลักของบทคัดย่อผลงานวิจัย ไม่เกิน 1 หน้า ไม่เกิน300 Words

ขั้นตอนการเขียนบทคัดย่อผลงานวิจัย 1.เขียนผลการวิจัย (Results) ที่โดดเด่น 2.เขียนวัตถุประสงค์ (Objective) ให้สอดคล้องกับ ผลการวิจัย 3.เขียนชื่อเรื่อง (Topic) ให้สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ และ ผลการวิจัย (ทำอะไร? กับใคร? ที่ไหน? เมื่อไร? ด้วยวิธีใด?) 4.เขียนวิธีการศึกษา (Research design & Methodology) ให้ ครบถ้วน และ ถูกต้อง ตาม Research Methodology 5.เขียนบทนำ (Introduction) ที่กระชับ และ ชัดเจน (ความหมาย ความเป็นมา และ ความสำคัญ ของงาน และ ปัญหา ในการศึกษา/วิจัย) 6.เขียนสรุป และ ข้อเสนอแนะ (Conclusion & Recommendation) 7.เขียนคำสำคัญ ( Key Words) ไม่เกิน 5 คำ 8.เขียนส่วนอื่นๆ จนครบถ้วน สมบูรณ์

แบบฟอร์ม สรุปประเด็นเนื้อหาสำคัญ ของผลงานวิจัย R2R2E ชื่องานวิจัย ชื่อภาษา อังกฤษ ชื่อผู้วิจัย และคณะ 1 หน่วยงาน ความเป็นมาและความสำคัญของงาน และปัญหา ในการศึกษา/วิจัย งาน เป็นงานที่สำคัญ คือ/เนื่องจาก ปัญหาที่พบในโลก คือ ปัญหาที่พบในประเทศไทย คือ ปัญหาที่พบในพื้นที่/หน่วยงาน คือ คณะผู้วิจัยจึงตั้งใจที่จะทำวิจัยเพื่อแก้ปัญหานี้ อย่างยั่งยืน วัตถุประสงค์ของการศึกษา/วิจัย ผลการศึกษา/วิจัย พบว่า ดี/เพิ่มขึ้น (p<0.05)

วิธีการศึกษา/วิจัย แบบการวิจัย  แบบทดลอง ด้วยแบบการวิจัย  แบบไม่ทดลอง ด้วยแบบการวิจัย สิ่งที่ใช้ในการทดลอง คือ ประชากร คือ จำนวน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน คัดเลือกโดย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลการวิจัย มี ชิ้น คือ การทดสอบคุณภาพของเครื่องมือ ดำเนินการ ดังนี้ การเก็บข้อมูลการวิจัย ดำเนินการ ดังนี้ การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย ดำเนินการ ดังนี้ สถิติที่ใช้ สถิติเชิงพรรณา [สถิติวิเคราะห์ (ถ้ามี) ด้วยค่าสถิติ ที่ระดับแอลฟ่า 0.05] และ การวิเคราะห์เนื้อหา อภิปรายผลการวิจัย พบว่า คือ ที่เป็นดังนี้ เนื่อง จาก สอดคล้อง กับ ที่กล่าว/พบว่า แต่ไม่สอดคล้องกับ ที่กล่าว/พบว่า ที่เป็นดังนี้ เนื่องจาก การนำสิ่งที่ได้จากการศึกษา/วิจัย ครั้งนี้ ไปใช้ประโยชน์ สำหรับพื้นที่วิจัยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควร/สามารถ สำหรับผู้สนใจที่เกี่ยวข้อง ควร/สามารถ สำหรับการทำวิจัยต่อไป ในเรื่องเดิม ควร /สามารถ สำหรับการทำวิจัยต่อไปในเรื่องใหม่ ควร ………….……………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๕.๒ การจัดทำ Slide นำเสนอ ผลงานวิจัย R2R ๕.๒ การจัดทำ Slide นำเสนอ ผลงานวิจัย R2R 

Slide การนำเสนอผลงานวิจัย R2R แท้และดี 1.เปิดตัว 2.ชื่อเรื่อง และ ชื่อผู้วิจัย 3.บทนำ (ความหมาย ความเป็นมา และ ความสำคัญ) 4.วัตถุประสงค์ 5.แบบการวิจัย 6.สิ่งที่ใช้ในการทดลอง 7.พื้นที่วิจัย 8.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 9.ขั้นตอนและวิธีการ 10.เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลการวิจัย 11.การเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และ สถิติที่ใช้ ผลการวิจัย อภิปรายผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ 19.สรุป 20.กิติกรรมประกาศ ภาพประกอบ (เพิ่มความเข้าใจ) 25.Slide จบการนำเสนอ 1.เปิดตัว 2.ชื่อเรื่อง และ ชื่อผู้วิจัย 3.บทนำ (ความหมาย ความเป็นมา และ ความสำคัญ) 4.วัตถุประสงค์ 5.แบบการวิจัย 6.สิ่งที่ใช้ในการทดลอง 7.พื้นที่วิจัย 8.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 9.ขั้นตอนและวิธีการ 10.เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลการวิจัย 11.การเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และ สถิติที่ใช้ ผลการวิจัย อภิปรายผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ 19.สรุป 20.กิติกรรมประกาศ ภาพประกอบ (เพิ่มความเข้าใจ) 25.Slide จบการนำเสนอ

คณะผู้วิจัย , , , , , และคณะ ผู้นำเสนอ ตำแหน่ง หน่วยงาน Slide เปิดตัว

การพัฒนางาน หน่วยงาน องค์การ พ.ศ ด้วยวิธี AN IMPROVEMENT OF …………….…………… AT ………………, ………………, , BY ………………………………… โดย และคณะ (ทีม สหสาชาวิชาชีพ สหองค์การ/กระทรวง/ภาคส่วน)

1.เพื่อพัฒนา รูปแบบการดำเนินงาน ใหม่ โดยใช้ เพื่อเปรียบเทียบ ผลการ ดำเนินงาน ระหว่าง ก่อน กับ หลัง การนำรูปแบบ ที่พัฒนาขึ้น ไปดำเนินการ จำแนกเป็นรายปี วัตถุประสงค์การวิจัย

Research Design วิจัยพัฒนาเชิงทดลอง แบบกลุ่มเดียว วัดผล ก่อน-หลัง การทดลอง หลายครั้ง (Experimental Development Research, one group Pre-test and Post-test, Time series Design) สิ่งที่ใช้ในการทดลอง คือ รูปแบบการดำเนินงาน โดยใช้ ที่พัฒนาขึ้น โดยมีการปรับปรุงพัฒนาเป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่อง ด้วยการนำหลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม มาประยุกต์  นำไปทดลอง  ที่ พื้นที่/หน่วยงาน ระหว่างวันที่ ถึง

ขั้นตอนในการทำวิจัย มี 3 ขั้นตอน คือ 1. ก่อนการทดลอง (Pre-Experimental Phase) โดยการ วิเคราะห์รูปแบบการดำเนินงานเดิม วิธีการดำเนินงาน และ ผล การดำเนินงานที่ผ่านมา ร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง เพื่อหาจุดหรือ ประเด็น ที่ต้องปรับปรุงแก้ไข พร้อมทั้งศึกษาวรรณกรรม ทั้ง ทฤษฎี หลักการ นโยบาย แผนงาน และ แนวทางการดำเนินงาน ที่เกี่ยวข้อง แล้วนำมาประยุกต์ในพื้นที่ 2. ขณะทดลอง (Experimental Phase)โดยการนำรูปแบบการ ดำเนินงานที่พัฒนาขึ้น ไปดำเนินการ มีการทบทวน ติดตาม ประเมิน ผลการดำเนิน และ ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น เป็นระยะๆ แล้วนำผลที่ได้ มาปรับปรุงระบบงาน/วิธีการ กระบวนงาน และ วิธีปฏิบัติ ในการดำเนินงาน ให้เหมาะสม และ มี ประสิทธิภาพ ยิ่งๆขึ้น ในช่วงเวลาต่อๆมา 3. หลังการทดลอง (Post-Experimental Phase) โดยการนำ ข้อมูลทั้งหลาย มารวบรวม วิเคราะห์ และ สรุป ตามวัตถุประสงค์ ของการวิจัย

การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ Descriptive Statistics และ Content Analysis

สรุปได้ ดังนี้ รูปแบบการดำเนินงาน โดย ที่ได้ผ่านการทดลองใช้จริงแล้ว … ปี

เปรียบเทียบความแตกต่าง ระหว่างรูปแบบใหม่ที่พัฒนาขึ้นกับรูปแบบเดิม รูปแบบเดิม รูปแบบใหม่

ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ จำนวนผลงาน อัตราการเกิดภาวะไม่พึงประสงค์ เวลาที่ใช้ในการให้บริการ แรงงานที่ใช้ในการให้บริการ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ความพึงพอใจของผู้บริหาร ความพึงพอใจของผู้ให้บริการ ค่าใช้จ่าย/ต้นทุน ค่าใช้จ่ายที่สามารถประหยัดได้N/A ด้านผู้รับบริการ ด้านหน่วยงาน/ผู้ให้บริการ ด้านชุมชน/ประเทศชาติ ฯลฯ N/A: No data available เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ระหว่าง ก่อน (ปีงบประมาณ 2552) กับ หลัง (ปีงบประมาณ ) การนำรูปแบบใหม่ที่พัฒนาขึ้น ไปดำเนินการ

อภิปรายผลการวิจัย รูปแบบใหม่ ที่พัฒนาขึ้น เป็นรูปแบบการดำเนินงาน (Working Model) ที่ดี มีระบบงาน/วิธีการ ที่เหมาะสม กับพื้นที่ /หน่วยงาน ที่มีข้อจำกัดด้านบุคลากร และ มีภาระงานมาก เนื่องจากเหตุผล … ประการ คือ 1.ได้พัฒนาขึ้นจากความร่วมมือร่วมใจ ของผู้ที่เกี่ยวข้อง มีการทำงานเป็นทีมอย่างจริงจัง เป็นที่ยอมรับ จากผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน สามารถพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยไม่เป็นภาระมากนัก กับผู้ปฏิบัติงาน/ผู้ให้บริการ โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ สอดคล้องกับ แนวคิดของการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อการพัฒนา ที่เน้นการมีส่วนร่วมในการสร้างและพัฒนารูปแบบ จากผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ ตั้งแต่เริ่มต้น โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด (สมชาติ โตรักษา, 2548)

สิ่งที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ 1.ได้ระบบงาน/วิธีการใหม่ ของงาน ที่เหมาะสม มีคุณภาพและประสิทธิภาพสูง 2.ได้ผลการดำเนินงาน ที่ดีขึ้น ในกลุ่มเป้าหมาย ทั้งด้านคุณภาพ ด้านเวลาใน การดำเนินงาน และ ด้านความพึงพอใจ ของผู้ ปฏิบัติ 3.ได้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน และ ผล การดำเนินงาน ที่ชัดเจนถึงวิธีปฏิบัติ 4.ได้ประสบการณ์การทำงานวิจัยเพื่อแก้ปัญหา

ข้อเสนอแนะทั่วไป ในการนำสิ่งที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ ไปใช้ประโยชน์ ควรนำแนวคิด แนวทาง และ วิธีการ ที่ได้ดำเนินการในการวิจัยครั้งนี้ ไปเป็นบทเรียนตัวอย่างของการพัฒนา ที่ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนำไปใช้ในการวางแผนและการ ดำเนินการพัฒนาบุคลากร งาน หน่วยงาน องค์การ ต่างๆ ได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นำไปสู่ความเจริญก้าวหน้า ของหน่วยงาน/ องค์การ อย่างมั่นคง และ ยั่งยืน ยิ่งๆขึ้น

ข้อเสนอแนะ ในการทำวิจัยต่อไป ในการทำวิจัยเรื่องเดิม 1.ควรพัฒนาให้ครอบคลุม “ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน” ทั้ง 5 ด้าน คือ ด้านปริมาณงาน ด้านคุณภาพของผลการดำเนินงาน ด้านระยะเวลาและแรงงานที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ด้านความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง และ ด้านเศรษฐศาสตร์ของการดำเนินงาน 2.ควรทำวิจัยและพัฒนา (R&D) ต่อไป จนได้ “ตัวแบบ (Prototype)” ของงาน ที่ดี มีประสิทธิภาพสูง ยิ่งๆขึ้น อย่างยั่งยืน

ในการทำวิจัยเรื่องใหม่ ควรนำหลักการ และ วิธีการ ของการวิจัยพัฒนาเชิงทดลองนี้ ไปใช้ในการเพิ่มคุณค่า จากสิ่งที่ได้จากการดำเนินงาน ในทุกๆกิจกรรม โดยใช้แนวคิด หลักการ และ วิธีการ ของ 1.การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) 2.การพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน (Sustainable Community Development) และ 3.การพัฒนาด้วย Public-Private-Partnership: PPP เน้นการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยการบูรณาการจากทุกภาคส่วนอย่างกลมกลืน

รูปภาพที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน ภาพก่อนพัฒนา ภาพการพัฒนาปี๑ภาพการพัฒนาปี๒ ภาพการพัฒนาปี๓ภาพผลการวิจัยภาพประกอบอื่น

Slide จบ

การนำเสนอ ผลงานวิจัย ฉบับย่อ การนำเสนอ ผลงานวิจัย ฉบับย่อ 1.Slide เปิดตัว 2. ชื่อเรื่อง และ ชื่อผู้วิจัย 3. วัตถุประสงค์ 4.ผลการวิจัย 5. ภาพประกอบ (เพิ่มความเข้าใจ) 6.Slide จบการนำเสนอ 1.Slide เปิดตัว 2. ชื่อเรื่อง และ ชื่อผู้วิจัย 3. วัตถุประสงค์ 4.ผลการวิจัย 5. ภาพประกอบ (เพิ่มความเข้าใจ) 6.Slide จบการนำเสนอ

กิจกรรมสร้างสรรค์ ขอให้พวกเรา 1.เข้ากลุ่มกับเพื่อนตามที่จัดให้ 2.ช่วยกันคัดเลือก R2R แท้และดี จากเรื่อง R2R ของสมาชิกกลุ่ม ที่กลุ่มชอบมากๆ มานำเสนอเป็น ผลงานวิจัย R2R ฉบับย่อ 3.นำมา KS กัน (ตามใบงาน) ในที่ประชุม กลุ่มละ ~ 3 นาที ขอให้พวกเรา 1.เข้ากลุ่มกับเพื่อนตามที่จัดให้ 2.ช่วยกันคัดเลือก R2R แท้และดี จากเรื่อง R2R ของสมาชิกกลุ่ม ที่กลุ่มชอบมากๆ มานำเสนอเป็น ผลงานวิจัย R2R ฉบับย่อ 3.นำมา KS กัน (ตามใบงาน) ในที่ประชุม กลุ่มละ ~ 3 นาที

ขอให้พวกเราแต่ละกลุ่ม เตรียมการ และ นำเสนอ ผลงานวิจัย R2R กลุ่มละ ~ 3 นาที ตามใบงาน + Love  เตรียมการ และ นำเสนอ ผลงานวิจัย R2R กลุ่มละ ~ 3 นาที ตามใบงาน + Love 

ประมาณ ๑๕.๒๐ น. นำเสนอ ผลงานกลุ่ม (มีกี่เรื่อง) และ ผลงานวิจัย R2R 1 เรื่อง (ฉบับย่อ) กลุ่มละ ~ 3 นาที ประมาณ ๑๕.๒๐ น. นำเสนอ ผลงานกลุ่ม (มีกี่เรื่อง) และ ผลงานวิจัย R2R 1 เรื่อง (ฉบับย่อ) กลุ่มละ ~ 3 นาที 

๑๕.๒๐ – ๑๖.๐๐ น. ๖. ถอดบทเรียนการเรียนรู้ และ ร่วมกันสร้างสรรค์ ผลงาน R2R แท้และดี ต่อๆไป อย่างยั่งยืน

อภิปราย ซักถาม แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และ ร่วมกันให้ข้อเสนอแนะ ในการปรับปรุง ผลงานวิจัย R2R ของพวกเรา อภิปราย ซักถาม แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และ ร่วมกันให้ข้อเสนอแนะ ในการปรับปรุง ผลงานวิจัย R2R ของพวกเรา 

งานทุก งาน ต้อง มีการ พัฒนา งานทุก งาน ต้อง มีการ พัฒนา งานทุกงาน สามารถ พัฒนาให้ดี ขึ้นได้ การ พัฒนา สามารถ ทำได้ ตลอดเวลา การ พัฒนา สามารถ ทำได้ ตลอดเวลา การพัฒนา สามารถทำ ได้ โดยใช้ ทรัพยากร เท่าที่มีอยู่ การพัฒนา สามารถทำ ได้ โดยใช้ ทรัพยากร เท่าที่มีอยู่ แนวคิดหลัก ในการพัฒนางาน อย่างต่อเนื่องและ ยั่งยืน แนวคิดหลัก ในการพัฒนางาน อย่างต่อเนื่องและ ยั่งยืน

ทำอย่างไร? พวกเรา จึงจะ อยากทำวิจัย R2R ทำอย่างไร? พวกเรา จึงจะ อยากทำวิจัย R2R และ ทำวิจัย R2R ได้อย่างมีความสุข และ มี ผลงานวิจัยที่ดียิ่งๆขึ้น ตลอดไป และ ทำวิจัย R2R ได้อย่างมีความสุข และ มี ผลงานวิจัยที่ดียิ่งๆขึ้น ตลอดไป

โดย 1.ให้รู้ว่า พวกเราทุกคน ทำวิจัย R2R มาแล้วมากมาย ตั้งแต่เกิด 2.ให้นำผลงานดีๆ ที่พวกเราแต่ละคนได้ ทำมาแล้ว มานำเสนอ เป็นผลงานวิจัย ใน ที่ประชุมวิชาการ และเขียนเป็น Paper วิจัย ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (> 3 เรื่อง) 3.ให้นำกระบวนการวิจัย (Research Methodology) มาประยุกต์ในการทำงาน ทุกงาน ให้ได้ผลงานวิจัยที่ดีและมีคุณค่า ยิ่งๆขึ้น อย่างต่อเนื่อง (ทุกปี) ตลอดไป โดย 1.ให้รู้ว่า พวกเราทุกคน ทำวิจัย R2R มาแล้วมากมาย ตั้งแต่เกิด 2.ให้นำผลงานดีๆ ที่พวกเราแต่ละคนได้ ทำมาแล้ว มานำเสนอ เป็นผลงานวิจัย ใน ที่ประชุมวิชาการ และเขียนเป็น Paper วิจัย ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (> 3 เรื่อง) 3.ให้นำกระบวนการวิจัย (Research Methodology) มาประยุกต์ในการทำงาน ทุกงาน ให้ได้ผลงานวิจัยที่ดีและมีคุณค่า ยิ่งๆขึ้น อย่างต่อเนื่อง (ทุกปี) ตลอดไป

ทำงาน ทุกงาน ของพวกเรา ให้เป็น R2R แท้ และ ดี ทำงาน ทุกงาน ของพวกเรา ให้เป็น R2R แท้ และ ดี

ประกอบด้วย กิจกรรม และ ขั้นตอน ในการดำเนินงาน ที่สำคัญ 8 ประการ คือ 1. การกำหนดเป็นนโยบายจากผู้บริหารสูงสุดขององค์การ 2. การกำหนดหน่วยงานผู้รับผิดชอบ 3. การสรรหาบุคคลผู้รับผิดชอบ 4. การจัดทำ “โครงการ” พัฒนาการทำงานประจำให้เป็นผลงานทาง วิชาการ ขององค์การ 5. การจัดทำ “ระบบงาน” ของการดำเนินงานทำงานประจำให้เป็นผลงาน ทางวิชาการ 6. การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop Training) ในการทำงานประจำ ของตนให้เป็นผลงานทางวิชาการ ในสถานการณ์จริง 7. การจัดเวทีให้มีการนำผลงานทางวิชาการจากงานประจำนี้ มาเผยแพร่ 8. การสนับสนุน และ ส่งเสริม การทำงานประจำของตนให้เป็นผลงานทาง วิชาการ อย่างเข้มแข็ง จริงจัง จริงใจ และ ต่อเนื่อง ตลอดไป วิธีการ ในการทำงานประจำให้เป็นผลงานทางวิชาการ หน่วยงาน ของเรา มีอะไรบ้าง เพียงพอ หรือยัง?

๑.ฝึกปฏิบัติการ ในการเขียน Research Proposal และ การขอใบรับรองจริยธรรม ของงานวิจัย R2R ๑.ฝึกปฏิบัติการ ในการเขียน Research Proposal และ การขอใบรับรองจริยธรรม ของงานวิจัย R2R  กิจกรรมต่อไป (ควรมี)

๒.การติดตาม และ ส่งเสริม การพัฒนา R2R ที่มีคุณภาพดี สร้างความมั่นใจ สู่การพัฒนาผลงานวิจัย ที่มีความสุข และ ยั่งยืน ๒.การติดตาม และ ส่งเสริม การพัฒนา R2R ที่มีคุณภาพดี สร้างความมั่นใจ สู่การพัฒนาผลงานวิจัย ที่มีความสุข และ ยั่งยืน 

National Training Center (วช.) ม.เกษตรศาสตร์  ลูกไก่

Organization Development by SOAR Technique

High Efficiency and Sustainable Organizational Services Development & Improvement High Efficiency and Sustainable Organizational Services Development & Improvement Public Private Partnership: PPP Public/Government Sectors Private Sectors Public/People Sectors Time / DurationMain Activities / Outcomes Year 2 Year 1 Year 3 Year 4 Year 5 Year … Initial project, Total plan, Start firmly Working Model Development Practical Working Model Continuing Sustainably Confirmative Practical Working Model Lesion learned, Knowledge Sharing, Documentations, Publications Sufficiency Economy Sustainable Quality Organization

Main Functions of PPP for Org. Services Public / Government - Basic Essential Resources - Academics - Empowerment - Standard & Regulation - Co-ordinations/Co-operations etc Public / Government - Basic Essential Resources - Academics - Empowerment - Standard & Regulation - Co-ordinations/Co-operations etc Public / People - On top / Co-pay Resources - Participations & Involvement - M & E and Controlling - Continuing - Networking - Community Volunteering - Sustainable Dev. etc Public / People - On top / Co-pay Resources - Participations & Involvement - M & E and Controlling - Continuing - Networking - Community Volunteering - Sustainable Dev. etc Private - Supplement Resources - Advanced Techniques - Donating - Networking - Creating & Supporting - Volunteering etc Organizational Services To support (ดัดแปลงจาก: สมชาติ โตรักษา, 2557: 225)

Question & Answer

สรุป การเรียนรู้ ของพวกเรา ในบ่ายวันนี้ สรุป การเรียนรู้ ของพวกเรา ในบ่ายวันนี้ 

พวกเรา สามารถเขียน R2R แท้ ได้ปีละกี่เรื่อง? พวกเรา สามารถเขียน R2R แท้ ได้ปีละกี่เรื่อง? ปีละ เท่ากับ จำนวนงานที่พวกเราทำ ปีละ เท่ากับ จำนวนงานที่พวกเราทำ

พวกเรา จะเป็น แม่ไก่ R2R ที่มีคุณลักษณะเหล่านี้ เพียงใด? พวกเรา จะเป็น แม่ไก่ R2R ที่มีคุณลักษณะเหล่านี้ เพียงใด? 1.ออกไข่ไม่น้อยกว่าปีละ....ฟอง (ผลงาน R2R กี่เรื่อง ที่ลงตีพิมพ์เป็น Original ar.) และ 2.ช่วยลูกไก่ที่จะทำ R2R จนลงตีพิมพ์ ได้ไม่น้อยกว่า.....ตัว/ปี โดยให้เขาออกไข่ R2R ปีละ....ฟอง และ 3.สร้างแม่ไก่ R2R รุ่นต่อไป ปีละไม่น้อยกว่า....ตัว 1.ออกไข่ไม่น้อยกว่าปีละ....ฟอง (ผลงาน R2R กี่เรื่อง ที่ลงตีพิมพ์เป็น Original ar.) และ 2.ช่วยลูกไก่ที่จะทำ R2R จนลงตีพิมพ์ ได้ไม่น้อยกว่า.....ตัว/ปี โดยให้เขาออกไข่ R2R ปีละ....ฟอง และ 3.สร้างแม่ไก่ R2R รุ่นต่อไป ปีละไม่น้อยกว่า....ตัว

พวกเรา ที่เป็น แม่ไก่ 1 คน สามารถสร้างนักวิจัย/ผลงานวิจัย เท่าใด? พวกเรา ที่เป็น แม่ไก่ 1 คน สามารถสร้างนักวิจัย/ผลงานวิจัย เท่าใด? ปีที่ 1. ได้ผลงานไม่น้อยกว่า 20 เรื่อง/คน เป็นลูกไก่  แม่ไก่ รุ่นที่ 2. (R2R ที่ลงตีพิมพ์เป็น Original Article) ปีที่ 2. ช่วยลูกไก่ ให้เป็นแม่ไก่รุ่นต่อไป 50% (R2R ที่ลงตีพิมพ์เป็น Original Article) x 20 เรื่อง/คน ได้ไม่น้อยกว่า 420 เรื่อง/คน ปีที่ 3. สร้าง และ ช่วยสร้าง แม่ไก่ รุ่นที่ 2. (R2R ที่ลงตีพิมพ์เป็น Original Article) 20 + (10 x 20) + [(10 x 20) x 20] เรื่อง/คน ได้ไม่น้อยกว่า 4,460 เรื่อง/คน ปีที่ 1. ได้ผลงานไม่น้อยกว่า 20 เรื่อง/คน เป็นลูกไก่  แม่ไก่ รุ่นที่ 2. (R2R ที่ลงตีพิมพ์เป็น Original Article) ปีที่ 2. ช่วยลูกไก่ ให้เป็นแม่ไก่รุ่นต่อไป 50% (R2R ที่ลงตีพิมพ์เป็น Original Article) x 20 เรื่อง/คน ได้ไม่น้อยกว่า 420 เรื่อง/คน ปีที่ 3. สร้าง และ ช่วยสร้าง แม่ไก่ รุ่นที่ 2. (R2R ที่ลงตีพิมพ์เป็น Original Article) 20 + (10 x 20) + [(10 x 20) x 20] เรื่อง/คน ได้ไม่น้อยกว่า 4,460 เรื่อง/คน รวม 4,900 เรื่อง/คน ใน 3 ปี

การติดตาม ประเมิน และ ส่งเสริม ผลการฝึกอบรม ครั้งนี้ พวกเรา อยากให้คณะผู้จัดอบรม (วช.และวิทยากร) ทำอะไรให้พวกเรา? พวกเรา จะช่วยกันทำอะไร ให้ประเทศชาติของพวกเรา?

Sustainable Development/Improvement เป็น การ “ทำ” งาน อย่างครบวงจร ต่อเนื่อง ตามแต่ละช่วงเวลา นำไปสู่การพัฒนา ที่มั่นคง และ ยั่งยืน (Continuous & Sustainable Improvement: CSI) Using Principle of Managing เริ่มต้น ดำเนินการ ทดลอง /พัฒนา เริ่มต้น ดำเนินการ ทดลอง /พัฒนา X = รูปแบบการดำเนินงาน (Working Model) O = ผลการดำเนินงานตามดัชนีชี้วัด (Working Outputs) X = รูปแบบการดำเนินงาน (Working Model) O = ผลการดำเนินงานตามดัชนีชี้วัด (Working Outputs) เริ่มต้น “ทำ” งาน เริ่มต้น “ทำ” งาน ก่อนทดลอง หลังทดลอง เวล า ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา ระยะ 1 ช่วงเวลา X5X5 X5X5 สิ่งที่ใช้ ในการทดลอง /พัฒนา สิ่งที่ใช้ ในการทดลอง /พัฒนา X1X1 X1X1 X2X2 X2X2 X3X3 X3X3 X4X4 X4X4 X6X6 X6X6 O1O1 O1O1 O2O2 O2O2 O3O3 O3O3 O5O5 O5O5 ผลการ ดำเนินงาน O4O4 O4O4 O6O6 O6O6 Experimental Development Research, one group Pre-test and Post-test, Time series Design. Good Practice R2R2E

Post-test หลังการฝึกอบรม หมวด ๗ ขอให้ท่านประเมินระดับความคิดเห็นของท่านต่อประเด็นต่อไปนี้ แล้วให้คะแนน (มากที่สุด=10; น้อยที่สุด=0 คะแนน) 1. R2R เป็นผลงานวิจัยที่มีคุณค่า มากน้อยเพียงใด? ต่อสิ่งต่อไปนี้ 1.1 ต่อตัวท่านเอง ข้าพเจ้า ให้คะแนน จากคะแนนเต็ม ต่อผู้มารับบริการจากท่าน (Customer) ข้าพเจ้า ให้คะแนน ต่อหน่วยงานของท่าน ข้าพเจ้า ให้คะแนน ต่อประเทศชาติ ข้าพเจ้า ให้คะแนน ท่านมีความต้องการที่จะเขียนผลงาน R2R ของตัวท่านเอง มาก-น้อย เพียงใด? ข้าพเจ้า ให้คะแนน ท่านมีความมั่นใจที่จะเขียนผลงาน R2R ของท่านมากน้อยเพียงใด? ข้าพเจ้า ให้คะแนน ท่านคิดว่าท่านจะสามารถนำเสนอผลงาน R2R ของท่านในเวทีวิชาการ ได้ภายใน 1 เดือน นับจากวันนี้ มากน้อยเพียงใด? ข้าพเจ้า ให้คะแนน จากคะแนนเต็ม ท่านมีความต้องการที่จะช่วยให้คนอื่น สามารถเขียนผลงาน R2R ของตัวเขาได้ มากน้อยเพียงใด? ข้าพเจ้า ให้คะแนน จากคะแนนเต็ม 10

1.ในประชาชนทั่วไป (ชีวิตประจำวัน อาชีพ งานอดิเรก) 2.ในเด็กนักเรียน ( อนุบาล ประถม มัธยม ) 3.ในนิสิตนักศึกษา ( สายสามัญ สายอาชีพ ) 4.ในบัณฑิตศึกษา (ปริญญาโท ปริญญาเอก) 5.ในคณาจารย์ (โรงเรียน มหาวิทยาลัย) 6.ในระดับ Expert (ระดับชาติ ระดับนานาชาติ) 7.ในภาคธุรกิจ (ขนาดเล็ก-กลาง-ใหญ่) การประยุกต์ R2R2E ตามกลุ่มเป้าหมาย 24+ กลุ่ม การประยุกต์ R2R2E ตามกลุ่มเป้าหมาย 24+ กลุ่ม

เขียน Paper วิจัย R2R เรื่องที่ ๑ ของพวกเรา เขียน Paper วิจัย R2R เรื่องที่ ๑ ของพวกเรา ไม่ต้องเดี๋ยว ไม่ต้องเดี๋ยว

พวก เรา ทำ ได้ พวก เรา ทำ ได้