แนวคิดและทิศทางในอนาคตของ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) โดย ดร. วราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการ อุดมศึกษา 16 มกราคม 2557 โรงแรมแกรนด์ปาร์ค.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
Advertisements

วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเขียว
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ณ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
นโยบายการดำเนินงานของ ส.ป.ก.
ด้านบริหารงานวิชาการ ฉบับปรับปรุง มิถุนายน 2554
การส่งเสริมและสนับสนุน ให้สหกรณ์เป็นวาระ แห่งชาติ.
ไทยกับการส่งเสริม CLC’s ในประเทศเพื่อนบ้าน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ดร.พงษ์ศักดิ์ ศรีวรกุล ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์, ฟิสิกส์, เคมี, ชีววิทยา, วิทยาศาสตร์ทั่วไป, จิตวิทยา ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การ ประถมศึกษา, ศิลปศึกษา,
รศ. ดร. สิทธิชัย แก้วเกื้อกูล คณบดี รศ. สุวรรณา สมบุญสุโข รองคณบดีฝ่ายบริหาร ผศ. ดร. คมกฤตย์ ชมสุวรรณ รองคณบดีฝ่ายวางแผน และพัฒนา รศ. ดร. กุลธิดา ธรรมวิภัชน์
โรงเรียนในฝัน : พลิกระบบการศึกษา แก้ปัญหาความยากจน สร้าง โอกาสให้เด็กไทย เบญจลักษณ์ น้ำฟ้า ผชช พิเศษ สพฐ. 17 กุมภาพันธ์ 59.
วิชาชีพทางการศึกษา 1. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู 2. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ผู้บริหารสถานศึกษา 3. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ผู้บริหารการศึกษา 4. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ.
ภาพรวมระบบ National Single Window (NSW) เดิม นายธาดา สุวรรณวิมล.
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพ ภายใน หลักสูตร คณะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
นโยบายการดำเนินงานของ นายกนกพันธุ์ จุลเกษม ผู้ว่าการการกีฬาแห่งประเทศ ไทย.
โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน สำนักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น.
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
สรุปผลการอบรม หลักสูตรการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอน ด้านการวัดและ ประเมินผล จารุนันท์ สมบูรณ์สิทธิ์
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education for Higher Education TQF : HEd TQF : HEd Thai Qualifications.
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและ ถ่ายทอดเทคโนโลยี. สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและถ่ายทอดเทคโนโลยี ลำ ดับ หลักสูตร คน : รุ่น ว / ด / ป ที่ ดำเนินการ 1.ข้าราชการใหม่40.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
QA สัญจร ประจำปี 2560 วันที่ 9-10 มีนาคม 2560.
ประชุมชี้แจงความคืบหน้าการดำเนินโครงการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ – 2561)
เข้าใจตน เข้าใจสาขา นายจิรภัทร ผดุงกิจ.
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
การพัฒนาระบบการประเมิน และการประกันคุณภาพการศึกษา
โต้วาทีอุดมศึกษา ญัตติ “มนุษย์แสนดีเลิศประเสริฐศรี”
โครงสร้างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
การประชุมคณะกรรมการความร่วมมือด้านการลงทุนของอาเซียน (CCI) ครั้งที่ ๖๔
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
เข้าใจตนเอง เข้าใจสาขา
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การจัดการความรู้ Knowledge Management
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
แอดมิชชั่น กลาง.
ความสำคัญ ของคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดและทิศทางในอนาคตของ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) โดย ดร. วราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการ อุดมศึกษา 16 มกราคม 2557 โรงแรมแกรนด์ปาร์ค จ. นครศรีธรรมราช

หัวข้อการนำเสนอ หลักการสำคัญและเป้าหมายของการดำเนินการ TQF การนำ TQF ไปสู่การปฏิบัติ สถานะการจัดทำ TQF แนวคิดและทิศทางของ TQF ในอนาคต

หลักการสำคัญ เพื่อเป็นกรอบมาตรฐานให้สถาบันอุดมศึกษาใช้ เป็นแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และพัฒนาคุณภาพการ จัดการศึกษา ให้สามารถผลิตบัณฑิตที่มี คุณภาพ ซึ่งจะเอื้อประโยชน์ต่อการรับรอง มาตรฐานคุณวุฒิในระดับอุดมศึกษา การ แลกเปลี่ยนนักศึกษา คณาจารย์ นักวิจัย การ เคลื่อนย้ายแรงในภูมิภาคและระดับสากล

เป้าหมาย มาตรฐานคุณวุฒิสาขา / สาขาวิชาที่ครอบคลุม ศาสตร์ที่เปิดสอน ทุกหลักสูตรสอดคล้องตาม TQF ภายในปี การศึกษา 2556 การขึ้นทะเบียนหลักสูตร หลักสูตรมีมาตรฐานเทียบเคียงได้ในระดับ ภูมิภาคและระดับสากล

การนำ TQF ไปสู่การปฏิบัติ

สถานะการจัดทำมาตรฐานสาขา / สาขาวิชา ( มคอ.1) ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว จำนวน 11 สาขา ได้แก่ คอมพิวเตอร์ พยาบาลศาสตร์ ( ตรีและ บัณฑิตศึกษา ) โลจิสติกส์ การ ท่องเที่ยวและ การโรงแรม วิศวกรรมศาสต ร์ บัญชี ครุ ศาสตร์ / ศึกษาศาสตร์ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ และแพทย์แผน ไทยประยุกต์ ( ตรีและ บัณฑิตศึกษา ) กายภาพบำบัด ( ตรีและ บัณฑิตศึกษา ) จำนวน 16 สาขา ได้แก่ อุตสาหกรรม เกษตร สัตว - แพทยศาสตร์ การ บริหารการศึกษา ( บัณฑิตศึกษา ) รัฐประศาสนศาสตร์ ( ตรี - โท - เอก ) บริหารธุรกิจ ศิลปกรรมศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ทันต แพทยศาสตร์ สถาปัตยกรรม ศาสตร์ เภสัช - ศาสตร์ เทคโนโลยีชีวภาพ สังคมสงเคราะห์ ศาสตร์ นิเทศ ศาสตร์ เทคโนโลยี คหกรรมศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์ ( ตรีและ บัณฑิตศึกษา ) ระหว่างดำเนินการ อยู่ระหว่างการ พิจารณา จำนวน 4 สาขา ได้แก่ ภาษาอังกฤษ การเกษตร ป่าไม้ และประมง ประวัติศาสตร์ การแพทย์แผน ไทย

แนวคิดและทิศทางของ TQF ในอนาคต ขยายการจัดทำมาตรฐานสาขา / สาขาวิชา และ สนับสนุน / ส่งเสริมการนำ TQF ไปสู่การปฏิบัติ การขึ้นทะเบียนหลักสูตร ในสาขาวิชานำร่อง ได้แก่ สาขาครุศาสตร์ / ศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการ ท่องเที่ยวและการโรงแรม และ สาขาวิชาโลจิสติกส์ ค้นหาแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) เพื่อนำไปสู่ การลดกฎระเบียบ / ขั้นตอนในการนำเสนอ / ไม่ นำเสนอหลักสูตรให้ สกอ. รับทราบ การเทียบเคียง TQF ระดับภูมิภาคและระดับสากล (ASEAN Qualification Reference Framework, EU และ Australia)

แนวคิดและทิศทางของ TQF ในอนาคต ( ต่อ ) ขยายการจัดทำมาตรฐานสาขา / สาขาวิชา และ สนับสนุน / ส่งเสริมการนำ TQF ไปสู่การปฏิบัติ - เร่งรัดดำเนินการจัดทำมาตรฐานสาขา / สาขาวิชาให้ครอบคลุมศาสตร์ที่เปิดสอนใน สถาบันอุดมศึกษา - จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ และประชุมวิชาการ เป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่องเพื่อให้ผู้บริหาร คณาจารย์ และผู้ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับ TQF การจัดทำหลักสูตร กลยุทธ์การ สอนและการประเมินผล

แนวคิดและทิศทางของ TQF ในอนาคต ( ต่อ ) การขึ้นทะเบียนหลักสูตร ในสาขาวิชานำร่อง ได้แก่ สาขาครุศาสตร์ / ศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการท่องเที่ยว และการโรงแรม สาขาวิชาโลจิสติกส์ และ / หรือสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ - กรอบมาตรฐานคุณวุฒิกำหนดให้ขึ้นทะเบียน หลักสูตรเมื่อสอนได้กึ่งหนึ่งของระยะเวลาหลักสูตร - รูปแบบ หลักเกณฑ์ วิธีการ จะเสนอให้อนุกรรมการ TQF พิจารณา - ในระยะแรก ควรให้มีการขึ้นทะเบียนหลักสูตรใน สาขาวิชานำร่อง 3-4 สาขาวิชา - การจัดทำ TQF-IS เพื่อรองรับการขึ้นทะเบียน หลักสูตร และการนำเสนอหลักสูตร

แนวคิดและทิศทางของ TQF ในอนาคต ( ต่อ ) ค้นหาแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) เพื่อ นำไปสู่การลดกฎระเบียบ / ขั้นตอนในการ นำเสนอ / ไม่นำเสนอหลักสูตรให้ สกอ. รับทราบ - สถาบันอุดมศึกษามีแนวปฏิบัติที่ดีสำหรับ สถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ - หลักสูตรที่มีผลการดำเนินการตาม TQF ที่ดี อย่างต่อเนื่อง สถาบันอุดมศึกษาอาจไม่ต้อง เสนอหลักสูตรให้ สกอ. รับทราบ

แนวคิดและทิศทางของ TQF ในอนาคต การเทียบเคียง TQF ระดับภูมิภาคและระดับสากล (ASEAN Qualification Reference Framework, EU และ Australia) - การมีส่วนร่วมในการจัดทำ ASEAN QRF เพื่อรองรับ AEC - การเสนอให้จัดทำ ASEAN QRF ระดับสาขา / สาขาวิชา ในศาสตร์ที่ไทยมีความเข้มแข็ง อาทิ อุตสาหกรรม เกษตร - ความร่วมมือทางวิชาการกับ EU ภายใต้โครงการ Tuning Education Structure for Internationalization ใน 3 สาขาวิชาเพื่อร่วมพิจารณาเทียบเคียงหลักสูตรที่ พัฒนาตามกรอบ TQF กับนานาชาติ - ความร่วมมือทางวิชาการกับออสเตรเลีย เพื่อให้ คณาจารย์มีความรู้ความเข้าใจการออกแบบหลักสูตร และกลยุทธ์การสอนและประเมินผล

การเทียบเคียง TQF ในระดับสากล สากล การร่วมมือทางวิชาการกับสหภาพยุโรป (European Union : EU) Tuning Education Structures for Internationaliza tion เพื่อการรับรองมาตรฐานและคุณวุฒิ คอมพิวเตอร์ การท่องเที่ยวและการโรงแรม วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

ขอบคุณค่ะ Thank you for your Attention