การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย
สืบเนื่องจากระบบการเก็บและการขอรายงาน ของโรงพยาบาลสุโขทัยเดิมเป็นระบบการรายงาน ด้วยเอกสาร พบข้อจำกัดของการดำเนินงานที่ ส่งผลถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการ ดำเนินงานในด้านต่างๆ ได้แก่ → ความทันเวลา → ความเที่ยงตรง ความถูกต้อง → ความชัดเจนของสื่อสาร แหล่งที่มาของ ข้อมูล → ระยะเวลาการรายงาน ส่งผลให้การนำข้อมูลเพื่อมาวิเคราะห์ประเมินผลทั้ง ในเชิงบริหารและบริการรักษาพยาบาลไม่มี ประสิทธิภาพ ที่มาของ ปัญหา
สรุปเรื่อง เล่าโดยย่อ 3 หน่วยงานหลักในกลุ่มงานพรส. มองเห็นโอกาสพัฒนาได้วางแผนนำข้อจำกัด ดังกล่าวมาสร้างโปรแกรมระบบรายงาน ซึ่ง เจ้าหน้าที่ทุกคนจะมี User และ Password เพื่อการ เข้าไปขอใช้และรายงานข้อมูล โดยให้มี ผู้รับผิดชอบข้อมูลการรายงาน เป็นผู้ตรวจสอบ อนุมัติการรายงานข้อมูลการติดตามแก้ไขปัญหาที่ เกิดขึ้น เป็นการพัฒนางานที่เกิดจากการคิดแก้ไข ปัญหาจากงานประจำสร้างโปรแกรมระบบการ รายงานเพื่อให้ผู้ใช้งานมีความสะดวกในการเข้าถึง ทันเวลา ภายใต้ฐานข้อมูลเดียวกัน
ที่มาของปัญหา
เปรียบเทียบผลงานปี ปี 56 ปี 57
ประสิทธิภาพของการรายงานข้อมูล สามารถแก้ไขปัญหาได้ครอบคลุมทุก ข้อ เป้าหมายและ วัตถุประสงค์
4 ประสาน IRS HAIMITRM
ผลลัพธ์
การวัดผลการ เปลี่ยนแปลง ประเมินผลลัพธ์ของการใช้โปรแกรมพบว่า (90) ① ความสามารถในการเข้าถึงโปรแกรม ร้อยละ (90) ② ความพึงพอใจในการใช้ โปรแกรม ดังนี้ (100) (100) (100) (80) (100 ❶ ความถูกต้องของนิยามตามตัวชี้วัดข้อมูล ร้อยละ (100) ❷ ความทันเวลาของ ข้อมูล ร้อยละ (100) ❸ ความเป็นปัจจุบันของข้อมูล ร้อยละ (100) ❹ ความสะดวกในการใช้ โปรแกรม ร้อยละ (80) ❺ ความครอบคลุมตัวชี้วัดรพ./ ตรวจราชการ ร้อยละ (100)
ส่วนของโปรแกรม โปรแกรมรายงานข้อมูลสารสนเทศ โปรแกรมบริหารจัดการความเสี่ยง
❶ แนวคิดการพัฒนาควรเริ่มต้นจาก งานประจำ มุ่งเน้นให้เกิดประโยชน์และ ความร่วมมือสูงสุด ❷ ควรมองประเด็นง่ายต่อการใช้งาน ความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการ พัฒนางานและทำความเข้าใจกับ Programmer เพื่อให้สามารถสร้างฐานการ เก็บข้อมูลให้ตรงกับนิยามตามตัวชี้วัด ❸ ควรการประเมินผลโปรแกรมการใช้ งานเป็นระยะเพื่อพัฒนาโปรแกรมให้เป็น ปัจจุบันและมีประสิทธิภาพสูงสุด ❹ ควรประชุมชี้แจงบุคลากรที่ รับผิดชอบในการลงข้อมูลควรมีการ ตรวจสอบนิยาม ความถูกต้องและลง ข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน บทเรียนที่ ได้รับ
ปัญหาที่พบ โอกาสพัฒนา ① บุคลากรที่รับผิดชอบข้อมูลไม่กรอกข้อมูล ตามกำหนด ② ความเข้าใจในการกำหนด Template ตัวชี้วัดการตรวจราชการไม่ ตรงกันและมีการปรับเปลี่ยนข้อมูลบ่อย ทำให้โปรแกรมที่สร้างมีข้อจำกัด ในการนำไปใช้งาน ③ โปรแกรมความเสี่ยงยังพบข้อจำกัดในด้าน การปกปิดข้อมูลในระดับ ความรุนแรงสูง การกลัวความผิด และ การบริหารจัดการข้อมูลความ เสี่ยงยังไม่มีประสิทธิภาพ
Thank you for attention