Community of Practice
CoP มีหลายรูปแบบ เล็ก หรือ ใหญ่ มีอายุยืนยาว หรือ มีอายุสั้น อยู่รวมกัน หรือ กระจายตัว เป็นเนื้อเดียวกัน หรือ เป็น ส่วนผสมที่หลากหลาย เกิดขึ้นเอง หรือ จงใจให้เกิด
การจัดการ ความรู้ ตามนโยบาย พัฒนาตามรูปแบบที่ เหมาะสม เกิดการเรียนรู้ – ยอมรับ - กำหนด รูปแบบ การจัดการความรู้อย่างไม่มีรูปแบบ หรือไม่ รู้ตัว
แบ่งกลุ่มให้มีขนาดเท่ากัน ทั้งปริมาณและเพศ เลือกอาหารมา 1 ชนิด ไม่ซ้ำกัน แต่ละกลุ่มสาธิตการทำอาหาร ทุกคนในกลุ่มต้องมีกิจกรรมต้องนำเสนอสาระประโยชน์อื่นแฝงไปในการสาธิตนี้ด้วย ช่วยกันทำอาหาร รับประทานอาหารร่วมกัน ( กินข้าวหม้อเดียวกัน )
ไม่มีการเรียนรู้ใด ที่ไม่เกิดจาก การลงมือปฏิบัติ และไม่มีการปฏิบัติใด ที่ไม่เกิด การเรียนรู้
ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบริหารองค์กร
ภาระหน้าที่และความรับผิดชอบของฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบริหารองค์กร Hardware Software Network Service
ผลงาน / องค์ความรู้ การแก้ไขปัญหาการใช้งาน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นก่อนแจ้ง ช่างซ่อม
ชุมชนนักปฏิบัติ
มีการอภิปรายผลกันระหว่าง ผู้บริหารภายในฝ่าย ผู้จัดการฝ่าย 1 ผู้จัดการฝ่าย 1 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่าย 3 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่าย 3 ผู้จัดการส่วน 11 ผู้จัดการส่วน 11 รวม 15 รวม 15 เพื่อวางหลักการเรื่อง การจัดกิจกรรม ชุมชนนักปฏิบัติ ชุมชนนักปฏิบัติ
เนื้อหาส่วนนี้เกิดจากการอภิปรายผลในการประชุม มิได้หมายถึงการจัดกิจกรรมโดยรวม
ต้องทำอะไร กระตุ้นให้ทุกคนเข้าร่วม กิจกรรม สนับสนุนและส่งเสริม ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภายในองค์กร ทั้งที่เป็นสาระ และความรู้
ที่ประชุมเห็นพ้องให้ จัดเป็นกิจกรรม ชุมชนนักปฏิบัติ ระดับฝ่าย
1. ผู้บริหารต้องเข้าใจใน หลักการ และให้ความร่วมมือ อย่างเต็มที่ เข้าใจ ยอมรับ สนับสนุน
การดำเนินกิจกรรม 2. ให้ความรู้กับ พนักงานแบบ ค่อยเป็นค่อยไป
การดำเนินกิจกรรม 3. กระตุ้นให้พนักงาน เข้ามามีส่วนร่วมใน กิจกรรม
- เผยแพร่ความรู้เรื่องการจัดการความรู้ KM วันละนิด “ ส่งให้ สมาชิกผ่านทาง Group Mail - ให้สมาชิกในกลุ่มกล้าแสดงออกอย่าง ทั่วถึงด้วยกิจกรรม ใคร เป็น ใคร ใน อท. “ - สร้าง Blog หลักของฝ่ายใน CATKM เพื่อ ใช้เผยแพร่ผลงาน KM IT- บริหารองค์กร ชื่อ KM IT- บริหารองค์กร ” - สร้างผลงาน / องค์ความรู้ - สร้าง Group Mail เพื่อใช้เป็นศูนย์กลาง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายใน ผลงาน / องค์ ความรู้
- กระตุ้นและส่งเสริมให้สมาชิกเข้ามามีส่วนร่วมใน กิจกรรมการจัดการ ความรู้ ผ่านทาง Group Mail - ให้ความรู้แก่สมาชิกเรื่องการจัดการความรู้ (Knowledge Management) และองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) โดยรวบรวมข้อมูล ความรู้จากแหล่งความรู้ต่างๆ - จัดกิจกรรมให้สมาชิกแสดงความคิดเห็นใน ประเด็นที่กำหนด - สร้างองค์ความรู้ชุดที่ 1 Virus Printer Internet / Intranet ผลงาน / องค์ ความรู้
- ถอดความรู้จากผู้มีประสบการณ์ / ผู้ เกษียณ - สร้างองค์ความรู้ชุดที่ 2 คู่มือการสร้าง e-Book เบื้องต้น - ให้ความรู้กับสมาชิกเพื่อปรับปรุงงาน IT โดย ใช้ COBIT Framework KM IT- บริหารองค์กร - เผยแพร่ผลงานใน Blog ของฝ่าย KM IT- บริหารองค์กร ” ผลงาน / องค์ ความรู้
- ส่งเสริม กระตุ้น สมาชิกให้เข้ามามีส่วน ร่วมในกิจกรรม การจัดการความรู้ ผ่านทาง Group Mail - ต่อยอดจากองค์ความรู้เดิม โดยตั้ง คำถาม ให้สมาชิกได้แสดง ความคิดเห็นทาง Group Mail คำถาม - จะนำความรู้มาปฏิบัติให้เกิดผล อย่างไร - คำถาม จากผู้จัดการส่วน - คำถามอยากรู้ นำคำถาม - คำตอบมาสร้างองค์ ความรู้ ผลงาน / องค์ ความรู้
- ปรับปรุงเอกสารความรู้เทคนิคการใช้ IT ( ผลงาน CoP ปี 52 ) ในส่วนที่มีเทคโนโลยี ใหม่เพื่อให้เอกสารมี ความทันสมัย (Wi-Fi ) - จัดทำเอกสารความรู้ เทคนิคการใช้ IT เล่มที่ 2 (Wi-Fi ) - พนักงานทุกส่วนงาน ร่วมกันส่ง บทความ ความรู้ เผยแพร่ "KM IT- บริหารองค์กร " ใน Blog "KM IT- บริหารองค์กร " - จัดทำเอกสารคู่มือสำหรับคุณวิศาสตร์ คู่มือการจัดทำ Blog - ถอดความรู้จากผู้มีประสบการณ์ / ผู้ เกษียณ ผลงาน / องค์ ความรู้
สืบเนื่องจาก KM IT- บริหารองค์กร เป็น CoP ระดับฝ่าย การสนับสนุน และการให้ความร่วมมือ ของ สมาชิก จึงแตกต่างจาก CoP กลุ่มย่อย จากการจัดกิจกรรมที่ต่อเนื่องมาตั้งแต่ ปี 2550 ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสมาชิกเพิ่มขึ้น ตามลำดับ แต่... ผลด้านการมีส่วนร่วมยังไม่เป็นที่ พอใจ ดังนั้น ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ บริหารองค์กร ดังนั้น ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ บริหารองค์กร จึงยังคงจัดกิจกรรมจัดการความรู้ภายใน ฝ่ายต่อไป โดยมุ่งหวังให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนมีส่วนร่วม สร้างให้ อท. เข้าใกล้องค์กรแห่งการเรียนรู้
ปัญหา และ อุปสรรค การสร้างชุมชนนักปฏิบัติระดับ ฝ่าย - องค์กร การให้ความรู้ความเข้าใจ - คุณเอื้อ - คุณอำนวย - คุณกิจ - คุณลิขิต