การประชุม ผู้อำนวยการสถานศึกษา สพป. มหาสารคาม เขต 1 1 สิงหาคม 2557 ณ ห้องประชุม 4 B อาคารศูนย์ภาษา และคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มหาสารคาม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
Advertisements

พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ. งบประมาณในการพัฒนามหาวิทยาลัยมีจำกัด การผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาที่ไม่เป็นไปตามความ ต้องการของประเทศ ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ.
LOGO แนวทางการดำเนินงานการจัดการศึกษาตาม หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ( ปรับปรุง 2559)
สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อม จังหวัดพัทลุง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง จังหวัดพัทลุงพื้นที่ ๒, ๑๔๐, ๓๐๖ ไร่ ประชากร ๕๑๐, ๔๗๐ คน แบ่งการปกครอง ๑๑ อำเภอ.
1 การดำเนินการ โครงการยกระดับคุณภาพการ ให้บริการประชาชน.
นางยุภา พรเศรษฐ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนกันตังพิทยากร โรงแรมอินทรา รีเจนท์ กรุงเทพมหานคร การพัฒนาองค์ความรู้การบริหารจัดการ ห้องสมุดมีชีวิต และการขยายเครือข่ายห้องสมุดมีชีวิต.
แผนงานโครงการ หน่วยศึกษานิเทศก์ ผล ปีงบประมาณ 2558 แผน ปีงบประมาณ 2559.
ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ปีการศึกษา 2557 NT ป.3 O-NET ป. 6 O-NET ม. 3 NT ป.3 O-NET ป. 6 O-NET ม. 3.
การแต่งตั้ง เลื่อน ย้าย ข้าราชการ
แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
ความคืบหน้าการจัดทำ ร่าง-ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิ ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ
การจัดทำงบการเงินและการกรอกแบบ ภ.ง.ด.50
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
หน่วยงานราชการและภาคเอกชน จังหวัดกาฬสินธุ์ และ
หน่วยงานที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย เวลา น. Process Key factor คำถาม (1) มีแนวทางและวิธีการอย่างไรในการส่งมอบผลิตภัณฑ์หลักและ/หรือ บริการหลักที่เราส่งมอบให้กับลูกค้าของเรา.
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐPMQA สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย
แผนแม่บทการจัดการความรู้ ปี
สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การทบทวนและซักซ้อมการปฏิบัติงานใน ระบบจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ ระหว่าง ๒ – ๓ มี.ค. ๖๐ ณ ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์กองทัพไทย.
ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ และ (ฉบับที่
AEC ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ต่อนายจ้างและแรงงานไทย
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
ประชุมชี้แจงการใช้สื่อ ชุดการจัดการเรียนรู้สื่อ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สพป.น่านเขต 2 วันที่ 16.
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและทิศทางการดำเนินงานควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดย ทนุบูรณ์ กองจินดา.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การมีส่วนร่วมของชุมชนและประชาชน: แนวคิด และประสบการณ์วิจัย
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน กลุ่มวัยเรียน
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในสถานศึกษา
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
การพัฒนาประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
อบรมการใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น หัวข้อ การคีย์ใบงาน IT Service สำหรับผู้ใช้บริการ โดย งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์การแพทย์ ฯ.
การประชุมผู้บริหารโรงเรียน เรื่อง เกณฑ์ประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
ปี 2559 : ผู้ประกอบการพร้อมหรือยัง..... กับการรับมือเศรษฐกิจซึมยาว
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เทพสุริยา(เทพสุริยา)
สิทธิรับรู้ของประชาชน
โครงการพัฒนาฝีมือให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน และผู้มีรายได้น้อย
พื้นที่และ เส้นรอบรูปวงกลม.
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
ผลการดำเนินงาน สิ่งที่ค้นพบ
การบริหารและขับเคลื่อน
การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
Dr.Surasak Mungsing CSE 221/ICT221 การวิเคราะห์และออกแบบขั้นตอนวิธี Lecture 05: การวิเคราะห์ความซับซ้อนของ ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับข้อมูล.
ผลการประชุมกลุ่มสาธารณสุข ไทย-ลาว
รูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
อุทธรณ์,ฎีกา.
โครงการให้บริการที่ดีที่สุดประจำปีงบประมาณ พ.ศ ที่มีความโดดเด่น
นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
เรื่องเดิม 2. การประกาศเขตส่งเสริมเพื่อกิจการอุตสาหกรรมในพื้นที่ EEC
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน
GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template)
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
สรุปความก้าวหน้า การดำเนินงาน PA พัฒนาคุณภาพ เขตสุขภาพที่ 10
อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
วัน เวลา และห้องสอบ เวลาสอบวันอังคารที่ 30 เมษายน 2562 เวลา 8.00 – สอบที่อาคารคณะนิติศาสตร์ (ห้อง 1401 และ 1404) ที่ปกสมุดคำตอบทุกเล่ม ต้องเขียนsection.
ข้อมูลการระดมความคิดเห็นต่อ การเปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท แผน ข
แผนงานประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ภายหลังปี 2558 ( )
การตั้งมาตรฐานคุณภาพ
บ่อเกิดแห่งสิทธิประเภทของสิทธิเสรีภาพสิทธิมนุษยชน สิทธิพลเมือง
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
การกู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพ
เทคนิคการนำเสนอ อย่างมืออาชีพ
รายงานผลการจัดการความรู้ ปี ……… ระดับส่วนงาน ระดับบุคคล ชื่อ
เส้นขนาน.
ศูนย์บริการคนพิการองค์การบริหารส่วนตำบลโจดหนองแก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุม ผู้อำนวยการสถานศึกษา สพป. มหาสารคาม เขต 1 1 สิงหาคม 2557 ณ ห้องประชุม 4 B อาคารศูนย์ภาษา และคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มหาสารคาม ดร. สุรัตน์ ดวงชาทม ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษา มหาสารคาม เขต 1

รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี เป็นรางวัลที่จัดตั้งขึ้นเพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติครู ผู้มีผลงานดีเด่น สร้างคุณประโยชน์ต่อการศึกษาในประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ รวม 11 ประเทศๆ ละ 1 รางวัล รวม 11 รางวัล ดำเนินการทุกๆ 2 ปีโดยพระราชทาน รางวัลครั้งแรกในปี พ.ศ.2558 ซึ่งเป็นปีที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 60 พรรษา ดำเนินการคัดเลือกระดับจังหวัด เดือนตุลาคม กุมภาพันธ์ 2558 ประกาศผลการคัดเลือก เดือนสิงหาคม 2558 พิธีพระราชทานรางวัลฯ เดือนตุลาคม 2558 ผู้ได้รับการคัดเลือกจะได้รับเหรียญทองรางวัล, ประกาศนียบัตร และเงินรางวัล 10,000 เหรียญสหรัฐ

1.การพัฒนาคุณภาพและการกระจายโอกาสการศึกษาอย่างเท่าเทียม 2.พัฒนาการเรียนรู้และกระบวนการคิด 3.ปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกในความเป็นไทย รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 4.เสริมศักยภาพในเชิงการแข่งขันเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 5.ส่งเสริมจิตสำนึกการเป็นข้าราชการที่ดี มีศักยภาพ 6.การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ เจตนารมณ์ / นโยบาย / คำแถลง ของ หน. และหน. ฝ่ายสังคมจิตวิทยา

1.การปรับปรุงการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ หน้าที่ พลเมืองศีลธรรม 2.การใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 3.การยกระดับคุณภาพการศึกษา 4.การพัฒนาระบบการบริหารจัดการ การจัดการศึกษาเพื่อสนองนโยบายของ คสช.

1.รณรงค์ค่านิยมคนไทย 12 ประการ 2.อ่านออกเขียนได้ 3.ทักษะชีวิตและการดูแลเด็ก 4.ผอ.เขต / ผอ.รร. /และครูอยู่ในพื้นที่ ภาระงานเร่งด่วนช่วง 2 เดือนนี้ ( สิงหาคม – กันยายน )

ให้ดำเนินการโดยเน้นโรงเรียนเป็นหลักเพราะ โรงเรียนคือสนามรบที่สำคัญของ สพฐ. การนำเนินงานตามนโยบายแผนงานโครงการเดิมของ สพฐ. ( ปี 2557)

1.การศึกษาสู่อาเซียน 2.ยกระดับคุณภาพการศึกษา 3.การนำนวัตกรรม หรือ Best Practice มาใช้ ปี 2558 สพฐ. จะเน้น 3 เรื่องใหญ่

1.Get The Vision Right (การทำวิสัยทัศน์ให้ตรงกัน) 2.Political Support (การสนับสนุนจากการเมือง สังคม ชุมชน) 3.Empowerment (เสริมพลังและการสนับสนุนจากส่วนกลาง) วิธีทำงานของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดร. กมล รอดคล้าย วิธีทำงานของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดร. กมล รอดคล้าย

1.MORE ต้องทำงานให้มากขึ้น เริ่มสิ่งใหม่ให้ดีกว่าเดิมในเรื่อง - ความรัก สามัคคี สร้างความสมานฉันท์ในองค์กร - การสนับสนุนการทำงานซึ่งกันและกัน - ความมุ่งมั่นและทุ่มเทในการทำงาน - ความรวดเร็ว - ความถูกต้อง ข้อคิดในการทำงาน จากนายโรจนะ กฤษเจริญ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

2. BETTER - การติดตามระเบียบ วิธีการ และข้อปฏิบัติใหม่ฯ - สร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ - สร้างข้าราชการรุ่นใหม่ - วิธีการทำงานใหม่ ๆ - กฎ 80/20 20% ใช้ได้ 80% ต้องการพัฒนา จึงต้องดูว่าเป็น Key ที่ต้องดูแลในเขตใครเป็น 20 ใครเป็น 80 ที่ต้องพัฒนา - เป้าหมายชัด แก้ปัญหาให้ตรง ข้อคิดในการทำงาน จากนายโรจนะ กฤษเจริญ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ร่าง Roadmap ปฏิรูปการศึกษา (2558 – 2564)

วิสัยทัศน์ สังคมไทยเป็นสังคมสงบสุข สมานฉันท์ ปราศจากความรุนแรงในการแก้ปัญหา เสริมสร้าง ความมั่นคงของชาติให้เข้มแข็งยั่งยืน และเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน เจตนารมณ์ เร่งพัฒนาคุณภาพ เพิ่มโอกาส ให้ประชาชนเข้าถึงการศึกษาได้อย่างเท่าเทียม ปรับปรุงระบบการศึกษา สร้าง ศักยภาพในการแข่งขัน ตอบสนองความต้องการของประเทศ โดยเฉพาะด้านแรงงาน ส่งเสริมด้านภาษา (ทั้ง ภาษาไทยและต่างประเทศ) ให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบ วินัย มีสำนึกรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ตามหลักการ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักการ/ แนวคิด 1) ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ยึดประโยชน์ประชาชนเป็นสำคัญ/ 2) มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ มีแผน เป้าหมาย ระบบ ติดตาม ตรวจสอบที่เป็นรูปธรรม/ 3) ประสิทธิภาพ ลดต้นทุน และคุ่มค่า/ 4) มุ่งคุณธรรมระดับสากล ปรับปรุงการ ทำงานอย่างต่อเนื่อง ปฏิบัติเป็นเลิศ/ 5) ยึดหลักธรรมาภิบาล มีคุณธรรม มีส่วนร่วมโปร่งใส เป้าหมาย คนไทย เป็นคนดี มีความรู้ ความสามารถ สมานฉันท์ มีศักยภาพในการแข่งขัน สามารถสื่อสาร คิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสาธารณะ มีระเบียบวินัย เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม ยึดมั่นในการ ปกครองระบอบ ประชาธิปไตย รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีค่านิยม ภูมิใจในความเป็นไทย และสามารถก้าวทันโลก ร่าง Roadmap ปฏิรูปการศึกษา (2558 – 2564)

 รื้อระบบริหารบุคคล : การสรรหา บรรจุ แต่งตั้ง ครูและผู้บริหาร ให้คนเก่ง / คนดี ทุกสาขา / สาขาขาดแคลน นักเรียนทุนมาเป็นครูได้  ปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู  ปรับระบบฐานเงินเดือนครู  ปรับรื้อระบบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ  แก้ปัญหาขาดแคลนครูอาชีวะ สาขาวิชาหลัก – ขาดแคลน  แก้ปัญหาหนี้สินครู  กำหนดมาตรฐานให้ครูอยู่ประจำห้องเรียน และผู้บริหารอยู่ประจำโรงเรียน  ให้มีการพัฒนาครูอย่างเป็นระบบ ด้านสมรรถนะในการสอน คูปองการพัฒนาครู  จัดทำแผนบริหารจัดการและพัฒนาครู คณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา ปี : ลด/เพิ่ม กระจายครูที่เหมาะสม/ วางระบบผลิตและพัฒนาและมาตรการจูงใจ/ แผนพัฒนาสมรรถนะ และความก้าวหน้าทางวิชาชีพ/ บังคับใช้กฎหมาย  รื้อระบบริหารบุคคล : การสรรหา บรรจุ แต่งตั้ง ครูและผู้บริหาร ให้คนเก่ง / คนดี ทุกสาขา / สาขาขาดแคลน นักเรียนทุนมาเป็นครูได้  ปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู  ปรับระบบฐานเงินเดือนครู  ปรับรื้อระบบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ  แก้ปัญหาขาดแคลนครูอาชีวะ สาขาวิชาหลัก – ขาดแคลน  แก้ปัญหาหนี้สินครู  กำหนดมาตรฐานให้ครูอยู่ประจำห้องเรียน และผู้บริหารอยู่ประจำโรงเรียน  ให้มีการพัฒนาครูอย่างเป็นระบบ ด้านสมรรถนะในการสอน คูปองการพัฒนาครู  จัดทำแผนบริหารจัดการและพัฒนาครู คณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา ปี : ลด/เพิ่ม กระจายครูที่เหมาะสม/ วางระบบผลิตและพัฒนาและมาตรการจูงใจ/ แผนพัฒนาสมรรถนะ และความก้าวหน้าทางวิชาชีพ/ บังคับใช้กฎหมาย ปฏิรูปครู กรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษา

 พัฒนาระบบการศึกษาทางไกล เพื่อเพิ่มคุณภาพและโอกาส  พัฒนาเครือข่ายโรงเรียนอย่างเข้มแข็ง เพื่อช่วยกันพัฒนาคุณภาพ  แก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็ก  ส่งเสริมการศึกษาพิเศษ  ปรับระบบเงินอุดหนุนรายหัวทุกระดับ – ประเภท ให้เป็นธรรม  ทบทวนกองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา : รวมกองทุน กยศ. และ กรอ.  ให้ กสทช. กำหนดช่วงเวลาให้ทุกสื่อจัดรายการเพื่อการศึกษา ในช่วงที่เหมาะสม  ควบคุมร้านเกม : เวลาเปิด - *ปิด เนื้อหาสาระ  ปรับระบบการให้ทุนการศึกษาแก่ผู้ยากจน ด้อยโอกาส  การพัฒนาการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ / โรงเรียนชายขอบ  พัฒนาระบบการศึกษาทางไกล เพื่อเพิ่มคุณภาพและโอกาส  พัฒนาเครือข่ายโรงเรียนอย่างเข้มแข็ง เพื่อช่วยกันพัฒนาคุณภาพ  แก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็ก  ส่งเสริมการศึกษาพิเศษ  ปรับระบบเงินอุดหนุนรายหัวทุกระดับ – ประเภท ให้เป็นธรรม  ทบทวนกองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา : รวมกองทุน กยศ. และ กรอ.  ให้ กสทช. กำหนดช่วงเวลาให้ทุกสื่อจัดรายการเพื่อการศึกษา ในช่วงที่เหมาะสม  ควบคุมร้านเกม : เวลาเปิด - *ปิด เนื้อหาสาระ  ปรับระบบการให้ทุนการศึกษาแก่ผู้ยากจน ด้อยโอกาส  การพัฒนาการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ / โรงเรียนชายขอบ เพิ่มและกระจายโอกาสอย่างทั่วถึงและเท่า เทียม กรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษา

 ปรับโครงสร้างและบทบาทกระทรวงศึกษาธิการ - การบริหารในพื้นที่  กระจายอำนาจการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียน - พื้นที่เป็นฐาน  รวมการดูแลอาชีวะรัฐ + เอกชน  แก้ปัญหาทุจริต คอรัปชั่น  เพิ่มอิสระในการบริหาร และสามารถตรวจสอบได้แก่โรงเรียน - สถานศึกษา  ทบทวนบทบาท วิธีการประเมินของ สมศ.  ปรับรื้อระบบการจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษา ระบบเงินอุดหนุนรายหัว  ทบทวนวิธีการได้มาของตัวแทนภาคส่วนต่าง ๆ ในคณะกรรมการ  ให้เอกชนจัดมากขึ้น รัฐดูแลเรื่องมาตรฐาน  ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเอกชนและภาคประชาสังคม : ร่วมพัฒนาโรงเรียนดี / อาชีวะดี /ครูดี / สื่อดี /อื่น ๆ  ปรับปรุง แก้ไขระเบียบ-กฎหมายที่เป็นอุปสรรค : พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ร.บ.ข้าราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา  เร่งรัด พ.ร.บ. สำคัญ และส่งผลกระทบสูงต่อคุณภาพการศึกษา  สถาบันเทคโนโลยีเพื่อ การศึกษา/ สสค./ วชช./ พ.ร.บ. อุดมศึกษา  ปรับโครงสร้างและบทบาทกระทรวงศึกษาธิการ - การบริหารในพื้นที่  กระจายอำนาจการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียน - พื้นที่เป็นฐาน  รวมการดูแลอาชีวะรัฐ + เอกชน  แก้ปัญหาทุจริต คอรัปชั่น  เพิ่มอิสระในการบริหาร และสามารถตรวจสอบได้แก่โรงเรียน - สถานศึกษา  ทบทวนบทบาท วิธีการประเมินของ สมศ.  ปรับรื้อระบบการจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษา ระบบเงินอุดหนุนรายหัว  ทบทวนวิธีการได้มาของตัวแทนภาคส่วนต่าง ๆ ในคณะกรรมการ  ให้เอกชนจัดมากขึ้น รัฐดูแลเรื่องมาตรฐาน  ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเอกชนและภาคประชาสังคม : ร่วมพัฒนาโรงเรียนดี / อาชีวะดี /ครูดี / สื่อดี /อื่น ๆ  ปรับปรุง แก้ไขระเบียบ-กฎหมายที่เป็นอุปสรรค : พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ร.บ.ข้าราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา  เร่งรัด พ.ร.บ. สำคัญ และส่งผลกระทบสูงต่อคุณภาพการศึกษา  สถาบันเทคโนโลยีเพื่อ การศึกษา/ สสค./ วชช./ พ.ร.บ. อุดมศึกษา ปฏิรูประบบการบริหารจัดการ กรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษา

 ปรับหลักสูตรอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาที่ตอบสนองความ ต้องการพัฒนาประเทศ  จัดทวิภาคี – สหกิจศึกษา – WIL เข้มข้น ให้ภาคเอกชนมี ส่วนร่วมตลอดกระบวนการ  สนับสนุนโรงเรียนในโรงงาน  จัดให้มีหลักสูตรทักษะอาชีพควบคู่สามัญในระดับมัธยมศึกษา  เพิ่มการผลิตแรงงานระดับกลาง / จูงใจ สร้างค่านิยม ภาพลักษณ์ที่ดีให้มีผู้เรียนอาชีวะเพิ่มขึ้น  พัฒนาระบบค่าตอบแทนตามสมรรถนะ ความรู้ ความสามารถ  เร่งใช้ระบบคุณวุฒิวิชาชีพ เพื่อให้ค่าตอบแทนสะท้อน สมรรถนะของแรงงาน  ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา โดยเฉพาะระดับอุดมศึกษา  ผลิตและพัฒนานักวิจัยระดับปริญญาเอก  เร่งรัดระบบ และกลไกการเทียบโอนระหว่างการศึกษาใน ระบบ นอกระบบ และการศึกษาตาม อัธยาศัยให้ชัดเจน เป็นรูปธรรม  ปรับหลักสูตรอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาที่ตอบสนองความ ต้องการพัฒนาประเทศ  จัดทวิภาคี – สหกิจศึกษา – WIL เข้มข้น ให้ภาคเอกชนมี ส่วนร่วมตลอดกระบวนการ  สนับสนุนโรงเรียนในโรงงาน  จัดให้มีหลักสูตรทักษะอาชีพควบคู่สามัญในระดับมัธยมศึกษา  เพิ่มการผลิตแรงงานระดับกลาง / จูงใจ สร้างค่านิยม ภาพลักษณ์ที่ดีให้มีผู้เรียนอาชีวะเพิ่มขึ้น  พัฒนาระบบค่าตอบแทนตามสมรรถนะ ความรู้ ความสามารถ  เร่งใช้ระบบคุณวุฒิวิชาชีพ เพื่อให้ค่าตอบแทนสะท้อน สมรรถนะของแรงงาน  ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา โดยเฉพาะระดับอุดมศึกษา  ผลิตและพัฒนานักวิจัยระดับปริญญาเอก  เร่งรัดระบบ และกลไกการเทียบโอนระหว่างการศึกษาใน ระบบ นอกระบบ และการศึกษาตาม อัธยาศัยให้ชัดเจน เป็นรูปธรรม การผลิตและพัฒนากำลังคนเพื่อเพิ่ม ศักยภาพการแข่งขัน กรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษา

 เร่งแก้ปัญหาอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ให้ซ้ำได้  พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนที่ห้องเรียน  ส่งเสริมเด็กที่มีความสามารถพิเศษ  ส่งเสริมการศึกษาทางเลือก  ปรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และกระบวนการเรียนการ สอน เน้นความเป็นพลเมือง ประวัติศาสตร์ ระเบียบ วินัย ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ทักษะในศตวรรษที่ 21 และอาชีพ และภาษาอังกฤษ  พัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่มีชีวิต  เพิ่มช่องทางการมีส่วนร่วมของภาคส่วนอื่น ๆ ในสังคม  กำหนดจุดเน้นแต่ละช่วงวัย  เพิ่มช่องทางในการเข้าถึงการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีมาตร บาน แก่เด็ก เยาวชน และประชาชน  เร่งรัดระบบ และกลไกการเทียบโอนระหว่างการศึกษาใน ระบบ นอกระบบ และการศึกษาตาม อัธยาศัยให้ชัดเจน เป็นรูปธรรม  เร่งแก้ปัญหาอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ให้ซ้ำได้  พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนที่ห้องเรียน  ส่งเสริมเด็กที่มีความสามารถพิเศษ  ส่งเสริมการศึกษาทางเลือก  ปรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และกระบวนการเรียนการ สอน เน้นความเป็นพลเมือง ประวัติศาสตร์ ระเบียบ วินัย ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ทักษะในศตวรรษที่ 21 และอาชีพ และภาษาอังกฤษ  พัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่มีชีวิต  เพิ่มช่องทางการมีส่วนร่วมของภาคส่วนอื่น ๆ ในสังคม  กำหนดจุดเน้นแต่ละช่วงวัย  เพิ่มช่องทางในการเข้าถึงการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีมาตร บาน แก่เด็ก เยาวชน และประชาชน  เร่งรัดระบบ และกลไกการเทียบโอนระหว่างการศึกษาใน ระบบ นอกระบบ และการศึกษาตาม อัธยาศัยให้ชัดเจน เป็นรูปธรรม ปฏิรูปการเรียนรู้ กรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษา  เร่งแก้ปัญหาอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ให้ซ้ำได้  พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนที่ห้องเรียน  ส่งเสริมเด็กที่มีความสามารถพิเศษ  ส่งเสริมการศึกษาทางเลือก  ปรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และกระบวนการเรียนการสอน เน้นความเป็นพลเมือง ประวัติศาสตร์ ระเบียบ วินัย ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ทักษะในศตวรรษที่ 21 และอาชีพ และภาษาอังกฤษ  พัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่มีชีวิต  เพิ่มช่องทางการมีส่วนร่วมของภาคส่วนอื่น ๆ ในสังคม  กำหนดจุดเน้นแต่ละช่วงวัย  เพิ่มช่องทางในการเข้าถึงการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีมาตรฐาน แก่เด็ก เยาวชน และประชาชน เช่น โทรทัศน์เพื่อการศึกษา  ขยายผลต้นแบบ/การนำร่องรูปแบบที่ดี  เร่งรัด พ.ร.บ. ที่ส่งเสริมการปฏิรูปการเรียนรู้ ได้แก่ พ.ร.บ.กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม คุณภาพการเรียนรู้ พ.ร.บ. สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา  เร่งแก้ปัญหาอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ให้ซ้ำได้  พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนที่ห้องเรียน  ส่งเสริมเด็กที่มีความสามารถพิเศษ  ส่งเสริมการศึกษาทางเลือก  ปรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และกระบวนการเรียนการสอน เน้นความเป็นพลเมือง ประวัติศาสตร์ ระเบียบ วินัย ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ทักษะในศตวรรษที่ 21 และอาชีพ และภาษาอังกฤษ  พัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่มีชีวิต  เพิ่มช่องทางการมีส่วนร่วมของภาคส่วนอื่น ๆ ในสังคม  กำหนดจุดเน้นแต่ละช่วงวัย  เพิ่มช่องทางในการเข้าถึงการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีมาตรฐาน แก่เด็ก เยาวชน และประชาชน เช่น โทรทัศน์เพื่อการศึกษา  ขยายผลต้นแบบ/การนำร่องรูปแบบที่ดี  เร่งรัด พ.ร.บ. ที่ส่งเสริมการปฏิรูปการเรียนรู้ ได้แก่ พ.ร.บ.กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม คุณภาพการเรียนรู้ พ.ร.บ. สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ปฏิรูปการเรียนรู้ กรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษา

 จัดทำแผนเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา : พัฒนาเนื้อหาสาระ สื่อต่าง ๆ มีระบบรับรองและ ควบคุมคุณภาพและมาตรฐานเนื้อหา เตรียมความพร้อมของครู พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบ การเชื่อมต่อ network  ยกเว้นภาษี – อากรการนำเข้าอุปกรณ์ สื่อเพื่อการศึกษา : BOI การศึกษา  มีระบบฟรี Wifi  พัฒนากองทุนเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ  เร่งรัด พ.ร.บ. สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา  จัดทำแผนเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา : พัฒนาเนื้อหาสาระ สื่อต่าง ๆ มีระบบรับรองและ ควบคุมคุณภาพและมาตรฐานเนื้อหา เตรียมความพร้อมของครู พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบ การเชื่อมต่อ network  ยกเว้นภาษี – อากรการนำเข้าอุปกรณ์ สื่อเพื่อการศึกษา : BOI การศึกษา  มีระบบฟรี Wifi  พัฒนากองทุนเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ  เร่งรัด พ.ร.บ. สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ปรับระบบการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การศึกษา กรอบแนวทางการ ปฏิรูปการศึกษา ระยะต้น: ตั้งคณะกรรมการระดับชาติ / สภาปฏิรูปการศึกษา/ ประชุมรับฟังความคิดเห็นและการมี ส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน / แก้ไขระเบียบ กฎหมาย ที่เป็นอุปสรรคในทางปฏิบัติ / เตรียมบุคลากร ระยะปานกลาง – ยาว : blueprint การศึกษาของชาติระยะยาว / แผนการศึกษาแห่งชาติ / แผนพัฒนาคนทุกช่วงวัย / มีองค์กร/กองทุนตาม พ.ร.บ. การศึกษาเพื่อช่วยพัฒนาคุณภาพต่อเนื่อง / การทดลองนำร่องรูปแบบ / แนวทางด้านต่าง ๆ ของการปฏิรูปการศึกษา / มีระบบฐานข้อมูลและ สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ/มีตัวชี้วัด ประเมินผล และเพื่อการพัฒนา กลไกลขับเคลื่อน / สนับสนุน

มาตรฐานและยุทธศาสตร์ ในการพัฒนาโรงเรียนสู่ประชาคม อาเซียน

1.มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน 2.มาตรฐานด้านคุณภาพการจัดการศึกษา 3.มาตรฐานด้านคุณภาพการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาโรงเรียนสู่ประชาคมอาเซียน 21 มาตรฐานในการพัฒนาโรงเรียนสู่ประชาคมอาเซียน

มาตรฐานและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาโรงเรียนสู่ประชาคมอาเซียน 22 ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาโรงเรียนสู่ประชาคมอาเซียน

ตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพภายนอก รอบ 4

ด้านที่ 1 คุณภาพศิษย์ มี 4 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ที่ 1 ผู้เรียนเป็นคนดี ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนมีความสามารถด้านการคิด ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผู้เรียนมีทักษะชีวิต ด้านที่ 2 คุณภาพครู/อาจารย์/ 4 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ที่ 5 ครู/อาจารย์เป็นคนดีมีความสามารถ ตัวบ่งชี้ที่ 6 ครู/อาจารย์สร้างสรรค์ห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้คุณภาพ ตัวบ่งชี้ที่ 7 ครู/อาจารย์มีผลงานที่นำไปใช้ประโยชน์ ตัวบ่งชี้ที่ 8 ครู/อาจารย์ได้เพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์ ด้านที่ 3 การบริหารและธรรมภิบาล สถานศึกษา 4 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ที่ 9 การดำเนินงานของคณะกรรมการสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 10 การดำเนินงานของผู้บริหารสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 11 การบริหารความเสี่ยง ตัวบ่งชี้ที่ 12 การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน 24 ตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพภายนอก รอบ 4

ด้านที่ 4 ความสัมพันธ์กับสังคม/ชุมชน 2 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ที่ 13 การให้ความร่วมมือกับชุมชน/สังคมที่ส่งผลต่อสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 14 การให้ความร่วมมือที่ส่งผลต่อชุมชน/สังคม ด้านที่ 5 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม 2 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ที่ 15 การสนับสนุนส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ที่ 16 การพัฒนาสุนทรียภาพ ด้านที่ 6 อัตลักษณ์/เอกลักษณ์ 2 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ที่ 17 อัตลักษณ์ผู้เรียน ตัวบ่งชี้ที่ 18 เอกลักษณ์สถานศึกษา ด้านที่ 7 มาตรการส่งเสริม 2 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ที่ 19 มาตรการส่งเสริม(ภายในสถานศึกษา) ตัวบ่งชี้ที่ 20 มาตรการส่งเสริม(ภายนอกสถานศึกษา) 25 ตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพภายนอก รอบที่ 4

ป.6 วันเสาร์ ที่ 31 มกราคม 2558 ม.3 วันเสาร์ ที่ 31 มกราคม 2558 และ 1 กุมภาพันธ์ 2558 ประกาศผล วันพุธ ที่ 25 มีนาคม กำหนดการทดสอบ O-NET ป.6, ม.3 ปี พ. ศ. 2557

27 การเลือกตั้งและการสรรหา อ. ก. ค. ศ. เขต การสรรหาและการเลือก กต. ปน. เขต

การพัฒนา คุณภาพ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล การจัดการศึกษาของ สถานศึกษาขนาดเล็ก

การประเมินคุณภาพ ภายใน ตามกฎกระทรวงว่าด้วย การประกันคุณภาพ การศึกษา

เป้าหมายการจัด การศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา มหาสารคาม เขต 1 1. นักเรียนคุณภาพ 2. โรงเรียนคุณภาพ 3. สพป. คุณภาพ 4. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรมืออาชีพ

The End