แนวทางการบริหารงานบำรุงทาง โดย นายชัชวาลย์ บุญเจริญกิจ รองอธิบดีฝ่ายบำรุงทาง วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2553
วิสัยทัศน์ กรมทางหลวง “ มุ่งมั่นพัฒนาระบบทางหลวงตาม มาตรฐานสากล เศรษฐกิจ สังคม เพื่อเสริมสร้างคุณค่าต่อ เศรษฐกิจ และ สังคม ผู้ใช้ ทาง สนองตอบความต้องการของ ผู้ใช้ ทาง ” ด้านงานบำรุงทาง งานบำรุงทาง “ มุ่งมั่นพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศทางด้าน งานบำรุงทาง บริการ เพื่อยกระดับการให้ บริการ ต่อ ประชาชน ”
ระยะทางบำรุง 65,630 กม./ สอง ช่องจราจร ผิวลาดยาง 59,631 กม./ สองช่องจราจร (90%) ผิวคอนกรีต 5,735 กม./ สองช่องจราจร (9%) ผิวลูกรัง 264 กม./ สองช่องจราจร (1%) หน่วยงานด้านบำรุงทาง 18 สำนักทางหลวง / สำนักงานทางหลวง 104 แขวงการทาง / สำนักงานบำรุงทาง พ. ศ : งานบำรุง ทางคิดเป็น 30% ของงานกรมทาง หลวง งานบำรุงรักษาทางหลวง 17, , , ,7 02
เป้าประสงค์ของงาน บำรุงทาง 1. ทางหลวงทั่วประเทศต้องอยู่ในสภาพดี โดยตลอด 2. การบริหารจัดการและดำเนินงาน รวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ 3.ไม่หยุดนิ่งด้านวิจัยและพัฒนางานบำรุงทาง
ตัวชี้วัด เชิงปริมาณ ระยะทางหลวงที่ได้รับการบำรุงรักษา 65,630 กิโลเมตร ต่อสอง ช่องจราจร เชิงคุณภาพ ทางหลวงต้องได้รับการบำรุงรักษาให้มีค่าความเรียบผิวทาง (IRI) เฉลี่ยไม่เกิน 3.5
IRI ( ม./ กม. หรือ มม./ ม.) มีแอ่ง และร่อง ล้อลึก มีร่องล้อมาก แต่ไม่ลึก มีร่องล้อบ้าง เล็กน้อย ผิวทางเริ่มหลุด ร่อน สภาพสมบูรณ์ = 0 ทางวิ่งสนามบิน และ ซุปเปอร์ไฮเวย์ ทางบำรุงรักษา / ก่อสร้าง แล้วเสร็จใหม่ ทางลาดยาง เก่า ทางลูกรัง มาตรฐาน ทางลูกรัง ( ลำลอง ) ทางลูกรังสภาพ เสียหายมาก 3.5 ดัชนีความขรุขระสากล (IRI)
นโยบายด้านงานบำรุงทาง เพื่อบรรลุเป้าประสงค์ทั้งสาม จึงกำหนด นโยบายต่างๆดังนี้ 1. การบริหารจัดการงานบำรุงรักษาทาง 2. การบริหารและพัฒนาบุคลากร 3. การพัฒนาการให้บริการแก่ประชาชน 4. การพัฒนาด้านเทคโนโลยีและ นวัตกรรมงานทาง
1. การบริหารจัดการงาน บำรุงรักษาทาง ความถูกต้องเหมาะสมตามหลักวิศวกรรม มีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ การให้บริการต่อสังคมอย่างเท่าเทียม เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ลดปัญหาภาวะโลกร้อน
ความถูกต้องตามหลัก วิศวกรรม เลือก เวลาและวิธีบำรุงรักษา ที่เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพและ ลักษณะความเสียหาย เรียบ เริ่ม ขรุขระ ควร ปรับปรุง อายุ บริการ สภาพ ให้บริการ ระดับความเสียหายที่ต้องเริ่มบำรุงตามกำหนดเวลา ระดับความเสียหายวิกฤตที่ต้องบูรณะ บำรุงปกติ บำรุงพิเศษและบูรณะ ก่อสร้างใหม่ สภาพการใช้งานของทางหลวง
ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ระบบบริหารงานบำรุงทาง (TPMS 2009)
การให้บริการต่อสังคม การบำรุงสายทางที่มีความจำเป็น ต่อการคมนาคมของประชาชน ในชุมชน ถึงแม้ความคุ้มค่าทาง เศรษฐกิจจะต่ำหรือไม่คุ้ม การวางแผนงานซ่อมบำรุงโดยพยายามไม่ให้เกิดผลกระทบ ต่อการเดินทางของประชาชน ประชาสัมพันธ์ล่วงหน้า/เสนอทางเลี่ยง ดำเนินการเวลาที่ปริมาณจราจรต่ำ
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การนำวัสดุเดิมกลับมาใช้ (Recycling) ลดการใช้ทรัพยากรใหม่ในการ ก่อสร้างทาง ลดมลภาวะ ฝุ่น ควัน จากเครื่องจักร และขั้นตอนการก่อสร้าง ลดเวลาในการก่อสร้าง ลด ผลกระทบต่อผู้ใช้ทาง ลดความเสียหายที่อาจเกิด ขึ้นกับชั้นโครงสร้างทางและดิน เดิมในระหว่างการขุดรื้อ ได้ชั้นโครงสร้างทางที่แข็งแรงมี คุณภาพสูง
2. แผนการบริหารและพัฒนา บุคลากร การบริหารงาน มอบและกระจายอำนาจ เพื่อความคล่องตัวในการบริหารงาน เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน โดยใช้เทคโนโลยีต่างๆ เช่น เทคโนโลยีสารสนเทศ (MIS) สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และ ระบบเครือข่าย (Internet and Intranet) เพิ่มความสะดวกให้แก่หน่วยงานหรือองค์กรของรัฐ และเอกชน ต่างๆ รวมทั้งประชาชน ในการขออนุญาต ขอประสานงานต่างๆ เป็นต้น เน้นการประชาสัมพันธ์เชิงรุก เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ ประชาชน รวมทั้งการแจ้งข้อมูลเหตุการณ์ต่างๆ
แผนการบริหารและพัฒนา บุคลากร การพัฒนาบุคลากร จัดทำแผนผังเส้นทางการเลื่อนตำแหน่ง ที่ปฏิบัติได้จริงและเป็นธรรม การหมุนเวียนหน่วยงานที่ปฏิบัติงาน ให้บุคลากรมีความรอบรู้ในงานต่างรูปแบบ โครงการตลาดนัดความรู้ด้านบำรุงทาง เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชนนัก ปฏิบัติ จัดอบรมและสัมมนาการใช้งานระบบบริหารบำรุงทาง ที่สำนักบริหารบำรุงทางได้ พัฒนาขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และลดเวลาในการทำงาน ส่งเสริมการทำกิจกรรม 5ส เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน เสริมสร้างคุณภาพชีวิตในการทำงาน ปรับปรุง/ซ่อมแซมอาคารของเจ้าหน้าที่กรมทางหลวง ให้อยู่ในสภาพดีเหมาะแก่ การปฏิบัติงาน/พักอาศัย
3. แผนพัฒนาการให้บริการแก่ ประชาชน หน่วยงานภูมิภาคทำการประชาสัมพันธ์เชิงรุก ประชาสัมพันธ์กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับทางหลวงให้ชุมชนในท้องถิ่นทราบ ประชาสัมพันธ์ล่วงหน้ากรณีที่จะมีงานก่อสร้าง หรือเทศกาลที่ส่งผลกระทบ ต่อผู้ใช้ทาง ปรับปรุงสภาพหมวดการทางให้เป็น Information Center สำหรับผู้ใช้ทาง อบรมให้เจ้าหน้าที่มีจิตบริการและให้รางวัลกับผู้ได้รับคำชมเชย
สนับสนุนการใช้ที่ดินนอกเขตทาง โครงการเสริมสร้างสวัสดิการ เช่นปลูกผักสวนครัว ขุดบ่อเลี้ยงปลา จัดระเบียบร้านค้าริมทางหลวง จัดพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับให้เช่า จัดพื้นที่ลานจอดรถให้ปลอดภัยสำหรับผู้เดินทาง พิจารณากฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง เครือข่ายรักษ์ทางหลวง รณรงค์ให้ชุมชนรับรู้ว่าทางหลวงเป็น ทรัพย์สินส่วนรวม 3. แผนพัฒนาการให้บริการแก่ ประชาชน ต่อ
4. แผนพัฒนาด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมงานทาง ระบบบริหารงานบำรุงทาง โครงการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการงานบำรุงทาง นำนวัตกรรม/องค์ความรู้ ที่ได้จากการจัดตลาด นัดความรู้ด้านบำรุงทาง มาขยายผลให้ ปฏิบัติงานจริง
ระบบบริหารงานบำรุงทาง
พัฒนาการสำรวจและเก็บข้อมูล สภาพทาง ใหม่ สำรวจโดยรถยนต์ติดตั้งอุปกรณ์ สำรวจ IRI & Rutting Right of Way /Asset View Pavement Surface Distress Laser Profiler Asset View Camera Pavement View Camera DMI GPS Server Gyroscope Operator Operator
Hawkeye 2000 series Software ซ้ายทาง ด้านหน้า ขวาทาง ผิวทางด้านซ้ายผิวทางด้านขวาแผนที่สำรวจ
ฐานข้อมูลกลางงานบำรุงทาง จุดเริ่มต้น - จุดสิ้นสุด ปริมาณความเสียหายแยก ตามประเภท เลือกดูสายทางจาก สทล./ สงล. ขท./ สน. บท. หมายเลขทางหลวง ตอนควบคุม เป็นต้น ร้อยละความเสียหายแยก ตามประเภท
TPMS 2009
โครงการสารสนเทศแผนงาน บำรุงทาง
ระบบสารสนเทศทรัพย์สินทาง หลวง
ระบบบริหารงานอุทกภัย
Web Site สำนักบริหารบำรุงทาง
ศูนย์ปฏิบัติการงานบำรุงทาง
แนวทางการพัฒนาระบบ เชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูล ภาพรวมศูนย์ปฏิบัติการกรมทางหลวง
โครงการตลาดนัดงาน บำรุงทาง
คณะกรรมการบริหารการ พัฒนาระบบงานบำรุงทาง รองอธิบดีฝ่ายบำรุงทางประธาน ผสว., ผสจ., ผสผ., ผสป.กรรมการ ผส.ทล 1-15 และ ผส.งล. (ตาก มหาสารคาม กระบี่) กรรมการ ผสร.กรรมการและเลขานุการ วดร.กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ นายเสริมศักดิ์ นัยนันท์กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
คณะกรรมการบริหารการ พัฒนาระบบงานบำรุงทาง อำนาจหน้าที่ นำนโยบายของกรมทางหลวงที่เกี่ยวข้อง ไปศึกษาแนวทางการปฏิบัติให้เป็น รูปธรรม กำหนด แนะนำ การจัดทำยุทธศาสตร์การบริหารการพัฒนางานบำรุงทางทั้งระบบ กำหนดแนวทาง ทิศทางการบริหารการพัฒนาทางเชิงกลยุทธ์ ผลักดันส่งเสริม สนับสนุนการบริหารการพัฒนางานบำรุงทางในทุกระดับ เสนอแนะ แนะนำ การติดตามและประเมินผลให้เป็นรูปธรรม เสนอแนะ แนะนำการจัดทำคู่มือ และหรือ แนวทางปฏิบัติ
จบการ นำเสนอ