เขตบริการสุขภาพที่ 10. 1. ประกาศนโยบายของเขตสุขภาพ ด้านการให้รหัสโรค ( บันทึก Diag text ทุกครั้งที่ให้บริการ ) และแต่งตั้ง คณะทำงานฯเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรม AntHOS โดยธวัชชัย เข็มอุทา 2/12/2556.
Advertisements

ความก้าวหน้าของการพัฒนา Database
การบันทึกข้อมูล 43 แฟ้มบน Hospital OS
ระบบข้อมูล สนับสนุนการวางแผน และประเมินผล.
1.การส่งข้อมูล 12&21และรายงาน 43+7 แฟ้มมาตรฐาน ผ่านสสจ.ชลบุรี
เรื่องที่ 1 เรื่องที่ 2 เรื่องที่ 3 เรื่องที่ 4 เรื่องที่ 5 บทเรียน.
เรื่องที่ 1 เรื่องที่ 2 เรื่องที่ 3 เรื่องที่ 4 เรื่องที่ 5 บทเรียน.
งานข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ สสจ.เลย
43 แฟ้ม HDC Datacenter ข้อมูลและรายงาน EPI.
งานข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ สสจ.เลย 28 ตุลาคม 2557
1. แนวทางการดำเนินงาน OPPP individual ในปี 2559  ระยะเวลาการรับข้อมูล การดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2559  มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูล และแฟ้มที่จะรับ  รูปแบบ.
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
สรุปผลการดำเนินงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่ 11 ปีงบประมาณ 2558 คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่ 11 คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ รายการยุทธศาสตร์ที่ 3 คิดเป็น ร้อยละ.
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
นำเสนอโดย เกศมณี สิทธิศิลป์ และคณะทำงาน
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาชุดคำสั่งประมวลผลข้อมูล
ศูนย์ข้อมูลกลางเพื่อบริหารจัดเก็บและใช้ประโยชน์
การประเมินคุณภาพการให้รหัสโรค
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
Buriram Public Health ทำไมต้องตั้งค่าและจัดการข้อมูลสะสม
Toward National Health Information System
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
ผู้เยี่ยมเสริมพลังลงพื้นที่เยี่ยมเสริมพลัง รพ.สต.ติดดาว
ห้องประชุมออนไลน์ Online Conference
นายสมเจตน์ เณรรักษา ทีม IT สสจ.สระแก้ว
การนำผลการปฏิบัติงานลงสู่แฟ้ม HDC (43 แฟ้ม)
สรุปผลการดำเนินงานข้อมูลสุขภาพ Health Data Center: HDC เขตสุขภาพที่ 12
การเปิดชั้นข้อมูล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว
การบันทึกข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ งานอนามัยแม่และเด็ก
สถานการณ์ข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณสุข ปี 2560
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
Highlight in ThaiRefer v.1.8
การพัฒนาศูนย์พึ่งได้ (OSCC)
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
Database ฐานข้อมูล.
นายสำราญ สาราบรรณ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร วันที่ 1 กรกฏาคม 2560
ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
หลักเกณฑ์การประเมินผลงานวิชาการ กลุ่มงานประเมินบุคคลและวิชาการ
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
อินเทอร์เน็ต by krupangtip
HDC CVD Risk.
สู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธ ปีที่ ๙
นายสำราญ สาราบรรณ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร วันที่ 1 กรกฏาคม 2560
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
การบันทึกข้อมูล Social Risk ใน HDC
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาชุดคำสั่งประมวลผลข้อมูล
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
วิชา วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ศูนย์พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยจังหวัดสมุทรปราการ
1.การส่งข้อมูล 12&21และรายงาน 43+7 แฟ้มมาตรฐาน ผ่านสสจ.ชลบุรี
Healthcare Risk management System: HRMS [ on cloud ]
1.1 การตายที่ระบุสาเหตุ ไม่ชัดแจ้ง <= 25 % ของการตายทั้งหมด
HDC แผนแพทย์ไทย.
DMA-Monitor ระบบติดตามผลและแจ้งเตือนความผิดปกติ
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
โปรแกรม District Health Data Center เพื่อการบริหารจัดการข้อมูล 43 แฟ้ม ระดับอำเภอ และ CUP ( DHDC ) 25 – 26 กรกฎาคม 2561 ห้องประชุม สำนักงานสาธาณสุขจังหวัดลำพูน.
การบริหารและควบคุมกำกับสารสนเทศสุขภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ
หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพ
ข้อสรุปจากที่ประชุมคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน มหาวิทยาลัยมหิดล
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย สตรีและเด็กปฐมวัย 0-5 ปี
การจัดการคุณภาพข้อมูลบริการป่วยนอก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เขตบริการสุขภาพที่ 10

1. ประกาศนโยบายของเขตสุขภาพ ด้านการให้รหัสโรค ( บันทึก Diag text ทุกครั้งที่ให้บริการ ) และแต่งตั้ง คณะทำงานฯเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม ทุกโปรแกรม HIS พัฒนาโปรแกรม ให้มีช่องสำหรับบันทึก Diag text เพื่อความสมบูรณ์ของข้อมูลและสอบ กลับได้ 3. ประเมินคุณภาพข้อมูลตามเกณฑ์ ของสนย. Error A-C ของผู้ป่วย ทั้งหมด

4. อบรมเจ้าหน้าที่ประเมินระดับจังหวัด เพื่อปรับมาตรฐาน (Standardize เดียวกันทั้งเขต ) เมื่อวันที่ สิงหาคม 2558 ที่ สสจ. อำนาจเจริญ 5. อบรมแพทย์ / ทันตแพทย์ที่จบใหม่ สร้างความเข้าใจการจัดเก็บและการ บันทึก ICD-10 ของหน่วยบริการ เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2558 ที่ สสจ. อำนาจเจริญ 6. ประเมินภายในจังหวัด / ประเมินไขว้ จังหวัด เดือนพฤศจิกายน สรุปผลการดำเนินงาน เดือน ธันวาคม 2558

* ทุกจังหวัดในเขตฯ ได้ทำการติดตั้ง Server ของระบบเรียบร้อยแล้ว * ยโสธร, มุกดาหาร, อุบลราชธานี เริ่มใช้ งานระบบแล้ว * ศรีสะเกษ ในส่วนของโรงพยาบาล และ รพ. สต. ที่มี Admin ได้ดำเนินการแล้ว จะ ดำเนินการอบรมการใช้งานทั้งจังหวัด กลางเดือนกันยายน 2558 อำนาจเจริญ จะดำเนินการอบรมการใช้ งานทั้งจังหวัดเมื่อ 18 ส. ค. 58

มี Data Center ระบบส่งต่อข้อมูล ผู้ป่วยระดับเขต ทุกโรงพยาบาลในเขตสามารถส่ง ข้อมูลผู้ป่วยส่งต่อ เข้า Data Center เพื่อจัดเก็บและใช้ประโยชน์ร่วมกัน จังหวัดศรีสะเกษและอำนาจเจริญ ทุกหน่วยบริการ ( รวมรพ. สต.) สามารถส่งข้อมูลผู้ป่วยส่งต่อ เข้า Data Center เพื่อจัดเก็บและใช้ ประโยชน์ร่วมกัน โปรแกรม HI กำลังพัฒนาเพื่อให้ สามารถส่งข้อมูลเข้า Data Center ระบบส่งต่อได้โดยตรง ( ไม่ผ่านโปรแกรม Refer Link)

ระบบฐานข้อมูล FCT พร้อมใช้งาน เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน FCT

43 แฟ้ม

เปรียบเทียบปริมาณข้อมูล ระหว่าง ทะเบียนของหน่วย บริการทั้งที่เป็นเอกสารและ ข้อมูลใน HIS กับระบบ ข้อมูล 43 แฟ้ม (HDC) พบว่า person มีความ ครบถ้วนมากกว่าร้อยละ 95 PERSON EPI LABOR ANC แฟ้มที่เหลือ ปริมาณข้อมูล ในระบบ 43 แฟ้ม น้อยกว่า ข้อมูลในหน่วยบริการ สาเหตุเกิดจากเจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบ บันทึกข้อมูล เข้าใน HIS ไม่ครบถ้วน กระบวนการนำเข้าข้อมูล ของระบบ 43 แฟ้ม --> ควร มีการทบทวนการลงข้อมูล ของ จนท. ในจุดที่เกี่ยวข้อง

อบศกยสอจ มหมห มีระบบการจัดการข้อมูล รายบุคคลในรูปแบบ 43 แฟ้ม มีระบบการตรวจสอบ ข้อมูลผ่าน 43 แฟ้ม / Data Center ข้อมูลของแฟ้ม Person มีคุณภาพ มากกว่า 95 % ข้อมูลของแฟ้ม Labor ครบถ้วน  ข้อมูลของแฟ้ม EPI ครบถ้วน  ข้อมูลของแฟ้ม ANC ครบถ้วน 

มีการพัฒนานวัตกรรมบริการด้านระบบสารสนเทศ ร่วมกันทั้ง 5 จังหวัด เช่น พัฒนาระบบติดตามตัวชี้วัด Cockpit, ระบบติดตาม / รายงาน ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย จังหวัดอุบลราชธานี มีการพัฒนา UBON System เพื่อช่วยในเรื่องการส่งข้อมูล 43 แฟ้ม เข้า DataCenter จังหวัดศรีสะเกษ พัฒนา Application การตรวจสอบ คุณภาพข้อมูล 43 แฟ้ม

X กลุ่มที่มีข้อมูลการส่งต่อในระบบฯ กลุ่มที่ไม่มีข้อมูลการส่งต่อในระบบฯ อุบลราชธานี 16 แห่ง อุบลราชธานี 9 แห่ง ศรีสะเกษ 21 แห่ง ศรีสะเกษ 1 แห่ง ยโสธร 8 แห่ง ยโสธร 1 แห่ง อำนาจเจริญ 6 แห่ง อำนาจเจริญ 1 แห่ง มุกดาหาร 7 แห่ง มุกดาหาร 0 แห่ง

ยังมี รพ. บางแห่งที่ยังไม่สามารถส่ง ข้อมูลเข้า Server ของเขตได้ อาจมี สาเหตุจาก / แนวทางแก้ไข 1. มีจนท. ประจำศูนย์รับส่งต่อ ผป. ไม่เพียงพอ ขาดคนบันทึกข้อมูล / จัดอัตรากำลัง หรือ หมุนเวียนบุคลากรจากจุดอื่น 2. กำลังพัฒนาโปรแกรมของตนเองไม่อยากใช้ ร่วมกัน / ให้ Admin เขียนโปรแกรมเชื่อมเข้า Referlink Datacenter เขต รพ. ต้นทางและปลายทาง ไม่เปิด Tools Monitor ข้อมูลจึงไม่ถูกนำเข้า (Download) จาก ReferLink Data Center ทำให้ข้อมูลต้น ทางและปลายทาง ไม่ตรงกัน / Admin หมั่น ตรวจสอบการเปิด Tools

ขอบคุณครับ