งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่
ของเด็กออทิสติกโดยการใช้ท่าเต้นแจ็ส

2 ความเป็นมาและความสำคัญปัญหางานวิจัย
ปัญหาที่เกิดจากพันธุกรรม ความผิดปกติของระบบร่างกาย เด็กออทิสติกต้องการความเข้าใจพิเศษ เด็กออทิสติกพบมากขึ้นในปัจจุบัน ครอบครัวที่มีเด็กออทิสติกต้องประสบปัญหาหลายอย่าง เนื่องจากเด็กเหล่านี้ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ การพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่ แขน ขา ลำตัว

3 เพื่อศึกษาผลการฝึกเต้นแจ็ส ที่มีผลต่อการพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่
วัตถุประสงค์ของงานวิจัย เพื่อศึกษาผลการฝึกเต้นแจ็ส ที่มีผลต่อการพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่ ของเด็กออทิสติก

4 ขอบเขตของงานวิจัย กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นเด็กออทิสติกที่กำลังศึกษาในโรงเรียนศึกษาพิเศษ ได้มาจากการคัดกรองเฉพาะเด็กออทิสติกที่มีปัญหาด้านกล้ามเนื้อ

5 ขอบเขตของงานวิจัย ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญว่าเป็นนักเรียนออทิสติก อายุอยู่ระหว่าง 7-10 ปี สามารถฟังคำสั่งง่ายๆ เข้าใจ สามารถปฏิบัติตามได้ ไม่มีปัญหาด้านสุขภาพ ได้แก่โรคหัวใจ ลมชัก ผู้ปกครองยินดีให้เข้าร่วมทำกิจกรรม

6 นิยามศัพท์เฉพาะ กล้ามเนื้อมัดใหญ่ หมายถึง กล้ามเนื้อของร่างกายที่สำคัญในการเคลื่อนไหว ได้แก่ แขน ขา และลำตัว ปฐมวัย หมายถึง ช่วงอายุของกลุ่มตัวอย่าง อยู่ในช่วงศึกษาระดับชั้นประถมต้น อายุประมาณ 7-10 ปี

7 กิจกรรมเคลื่อนไหวในรูปแบบนาฏศิลป์แจ็ส
กิจกรรมเคลื่อนไหวในรูปแบบนาฏศิลป์แจ็ส หมายถึง การสอนนาฏศิลป์สำหรับพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่ให้แก่นักเรียนออทิสติก เพื่อพัฒนาร่างกายและอวัยวะต่างๆของเด็ก

8 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กผู้ป่วยสามารถพัฒนากล้ามเนื้อได้ และกลับไปใช้ในชีวิตประจำวัน พัฒนากล้ามเนื้อให้เด็กผู้ป่วยสามารถเคลื่อนไหวได้ปกติและแข็งแรง

9 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เด็กออทิสติก การเต้นแจ็ส กล้ามเนื้อมัดใหญ่

10 พัฒนาการกล้ามเนื้อมัดใหญ่
กรอกแนวคิด พัฒนาการกล้ามเนื้อมัดใหญ่ ของเด็กออทิสติก การสอนโดยการใช้ ท่าเต้นแจ็ส

11 วิธีการดำเนินการวิจัย
ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงทดลอง แบบศึกษาต่อเนื่อง (Time series Design) ผู้วิจัยได้ดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ การกำหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการดำเนินการทดลอง การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

12 การกำหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นเด็กออทิสติกที่กำลังศึกษาในโรงเรียนศึกษาพิเศษ ได้มาจากการคัดกรองเฉพาะเด็กออทิสติกที่มีปัญหาด้านกล้ามเนื้อ โดยมีเกณฑ์การเลือกดังนี้ - ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญว่าเป็นนักเรียนออทิสติก อายุอยู่ระหว่าง 7-10 ปี สามารถฟังคำสั่งง่ายๆ เข้าใจ สามารถปฏิบัติตามได้ ไม่มีปัญหาด้านสุขภาพ ได้แก่โรคหัวใจ ลมชัก ผู้ปกครองยินดีให้เข้าร่วมทำกิจกรรม สามารถเข้าร่วมการวิจัยอย่างต่อเนื่องตามกำหนด

13 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง โปรแกรมฝึกการเต้นแจ็ส / แผนการจัดกิจกรรมการสอนนาฏศิลป์แจ็ส (5 ท่า ได้แก่ Knee band and rise, Flat bank, Second position, Leg Lunge, Pull up jump) 2. เครื่องมือเก็บข้อมูล - แบบสังเกตพฤติกรรม ขา/แขน/ลำตัว

14 การเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสังเกตพฤติกรรม พัฒนาการกล้ามเนื้อมัดใหญ่ โดยการสังเกตการพัฒนาการของเด็กผู้ป่วย บันทึกโดยผู้สังเกต2 คน ระหว่างการสอน โดยบันทึกตามแบบดังนี้ ตัวอย่าง แบบบันทึกช่วงเวลาของการเกิดพฤติกรรม (ในเวลา 20 นาที แบ่งเป็น 40 ช่วง ช่วงละ 30วินาที) ท่าเต้น แบบที่1 Knee band and rise นาทีที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ความถี่ 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40

15 วิธีการดำเนินการทดลอง
ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) ซึ่งผู้วิจัยได้ดำเนินการทดลองโดยอาศัยการวิจัยแบบศึกษาต่อเนื่อง (Longitudinal Time Series Design) มีแผนภาพดังนี้

16 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
- หาค่าเฉลี่ยคะแนนของเด็กในแต่ละท่า นำคะแนนผลการสังเกตพฤติกรรมแต่ละสัปดาห์ มาสรุปเป็นกราฟ ตัวอย่าง

17 บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). ความรู้พื้นฐานทางการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ: กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. กิ่งแก้ว ปาจรีย์. (2553). คู่มือการพัฒนาเด็กออทิสติกแบบองค์รวม. กรุงเทพฯ: พิมพ์สี. บ้านพัฒนาการครูอ้อ. สาเหตุการเกิดออทิสซึม. Retrieved 20 เมษา 2558, สืบค้นออนไลน์ บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้อต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7 ed. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น. ผดุง อารยะวิญญู. (2546). วิธีสอนเด็กออทิสติก. กุงเทพฯ: บริษัทรำไทย เพรส จำกัด. พีระพงศ์ บุญศิริ และมาลี สุรพงษ์. (2536). เกม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. เพ็ญแข ลิ่มศิลา. (2542). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับออทิสซึม. กรุงเทพฯ: กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณะสุข. วิไลวรรณ มณีจักร; มยุรี เพชรอักษร สร้อยสุดา วิทยากร สุภาพร ชินชัย. (2544). กรอบอ่ล้างอิงในกิจกรรมบำบัดสำหรับเด็ก. เชียงใหม่: คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. อุมาพร ตรังคสมบัติ. (2545). ช่วยลูกออทิสติก คู่มือสำหรับพ่อแม่ผู้ไม่ยอมแพ้. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยและพัฒนาการครอบครัว. Rutter and. Schopler (1987). Journal of Autism and Development Disorders.


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google