งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี บัณฑิต ปี ๒๕52

2 วัตถุประสงค์ของ การวิจัย

3 1.เพื่อสืบค้นการขัดเกลาทางสังคม ของเด็กและเยาวชนก่อนเข้ามาอยู่ใน ศูนย์ฝึกฯ เขต6 จังหวัดนครสวรรค์ ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการป้องกัน การติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ 2. เพื่อสืบค้นการขัดเกลาทางสังคม ซ้ำที่เกิดขึ้น กับเยาวชนก่อนในศูนย์ฝึกฯ เขต6 จังหวัดนครสวรรค์ ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันการติด เชื้อเอชไอวี/เอดส์

4 3.เพื่อศึกษาปัจจัยด้านการขัดเกลา ทางสังคม และ การขัดเกลาทางสังคมซ้ำที่มี ความสัมพันธ์กับพฤติกรรม การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชน ในศูนย์ฝึกฯ เขต6 จังหวัดนครสวรรค์ 4.เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิง นโยบายในการจัดการขัดเกลาทาง สังคมซ้ำให้แก่เยาวชนในศูนย์ฝึกฯ เขต6 จังหวัดนครสวรรค์

5 ผลการศึกษาของเด็กและ เยาวชน

6 เด็กและเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรม เด็กและเยาวชน. เขต6 จังหวัดนครสวรรค์
เด็กและเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรม เด็กและเยาวชน เขต6 จังหวัดนครสวรรค์ -ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุที่พบมาก ที่สุด คือ 17 ปี -การศึกษา อยู่ระดับประถมศึกษา มาก ที่สุด รองลงมา คือ มัธยมศึกษา -อาชีพ ก่อนเข้ามาอยู่ในศูนย์ฝึกฯ คือ รับจ้างทั่วไป รองลงมา คือ ไม่ทำงาน -คดีที่กระทำความผิด ส่วนใหญ่ เกี่ยวกับการลักทรัพย์ รองลงมา คือ ยาเสพติด และการฆ่า และทำร้ายร่างกาย เช่น การกระทำ ชำเราหรือพรากผู้เยาว์

7 -พฤติกรรมด้านสุขภาพ มีพฤติกรรม การเที่ยวผับ ร้านอาหารที่มีสาวเสริ์ฟ มากที่สุด รองลงมา คือ ใช้สารเสพติดและดื่น แอลกอฮอล์ -พฤติกรรมทางเพศ มีเพศสัมพันธ์ ครั้งแรกส่วนใหญ่ คือ 15 ปี พฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ คือ ไม่ใช้ถุงยางอนามัย -ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค เอดส์ มีความรู้ในระดับปานกลาง รองลงมา คือ มีความรู้ในระดับสูง -ทัศนคติเกี่ยวกับโรคเอดส์และวิธีการ ป้องกัน มีทัศนคติเกี่ยวกับโรคเอดส์ใน ระดับปานกลาง และได้รับความรู้จาก สาธารณสุขต่างๆมากที่สุด รองลงมา คือ โรงเรียน และจาก รายการโทรทัศน์

8 -พฤติกรรมที่ได้ความรู้เรื่องเพศ พบว่า ได้รับมาจากเกมส์ลามก/เกมส์ ออนไลน์ รองลงมา คือ หนังสือโป๊ Internet และCD/DVD -เด็กและเยาวชนเมื่อมีปัญหา ต่างๆที่เกี่ยวกับเพศ จะมีการปรึกษา บุคคลอื่นมากที่สุด คือ เพื่อนสนิท รองลงมา คือ บิดา มารดา และการเรียนรู้ด้วยตนเองทางสื่อต่างๆ ที่เด็กและเยาวชนได้รับมา

9 ผลการวิจัยเด็กและ เยาวชน

10 -กระบวนการขัดเกลาทางสังคม พบว่า การได้รับ การอบรมขัดเกลาจากบิดา มารดา เด็ก และเยาวชนได้รับการอบรมเลี้ยงดูและ ได้รับความรัก ความห่วงใยที่ดี สภาพทั่วไปในสังคม คือ มีการดุด่า ตำหนิบางเรื่องก็มีปากเสียง บางเรื่องก็ไม่สนใจที่จะเก็บเนื้อหากลับไป คิด -ผลจากการรับความรู้เรื่องเพศ พบว่า ส่วนใหญ่เรียนรู้จากสื่อลาก และมี เพื่อนที่มีพฤติกรรมสี่ยงและ จะมีประสบการณ์เช่นเดียวกันกับเพื่อนๆ รวมถึง การมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย

11 ภายในศูนย์ฝึกและอบรมเด็ก และเยาวชน มีการรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับ พฤติกรรม การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ ที่เหมาะสม และจะต้อง ผ่านกระบวนการขัดเกลาทาง สังคมซ้ำจากทุกฝ่ายที่เข้มข้นและ มากพอ จึงจะสามารถสร้าง ความตระหนักได้มากขึ้นจน นำไปสู่ การมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้

12 ข้อเสนอแนะจาก งานวิจัย

13 1.ควรมีการศึกษาในหัวข้อการขัด เกลาทางสังคมซ้ำหลังจากที่เด็กได้รับ การปล่อยตัวออกไปอยู่ภายนอกแล้ว เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมต่างๆ 2.ควรมีการศึกษาวิจัยการขัดเกลา ทางสังคมซ้ำ ในประเด็นอื่นที่เกี่ยวกับความผิดด้วย การใช้ความรุนแรง เช่น การทำร้าย ร่างกาย 3.ควรมีการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบ การบริหารจัดการ ของศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ในประเด็น ของการจัดกิจกรรมเพื่อสร้าง พฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอช ไอวี/เอดส์

14 ขอบคุณคะ


ดาวน์โหลด ppt การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google