งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การยืดอายุการวางจำหน่าย ของ ข่าอ่อนพร้อมบริโภค ด้วยวิธีการไม่ใช้สารเคมี ….. นางอุบล ชิน วัง …..

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การยืดอายุการวางจำหน่าย ของ ข่าอ่อนพร้อมบริโภค ด้วยวิธีการไม่ใช้สารเคมี ….. นางอุบล ชิน วัง ….."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การยืดอายุการวางจำหน่าย ของ ข่าอ่อนพร้อมบริโภค ด้วยวิธีการไม่ใช้สารเคมี ….. นางอุบล ชิน วัง …..

2 ข่าอ่อนพร้อมบริโภค (Fresh-cut young galangal stem) ลักษณะของข่าอ่อนพร้อม บริโภค แหล่งปลูก การเสื่อมคุณภาพในระยะ หลังการเก็บเกี่ยว วิธีการชะลอการเสื่อม คุณภาพ เค้าโครงงานวิทยานิพนธ์

3

4 ขั้นตอนการเตรียมข่าอ่อน พร้อมบริโภค

5 แหล่งปลูกที่สำคัญ ตำบลห้วยขะยุง อำเภอวารินชำราบ จังหวัด อุบลราชธานี

6 การเสื่อมคุณภาพในระยะหลัง การเก็บเกี่ยว การเปลี่ยนสีที่ผิดปกติ (Discoloration) บริเวณเหง้าที่ถูกตัดแต่ง การเหี่ยวเนื่องจากการสูญเสีย น้ำหนัก การเกิดอาการ Chilling injury การเกิดโรค

7 วิธีการชะลอการเสื่อมคุณภาพ ของพ่อค้ารับซื้อ / เกษตรกร สารละลายที่มีคุณสมบัติเป็นกรด เช่น ๏ สารส้ม …. ในอัตรา 25 กรัม / ลิตร แช่เป็นเวลา 1 คืน (10-12 ชั่วโมง ) ๏ โซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ (Sodium metabisulfite ; SMS) ร่วมกับสารส้ม ……. แช่เป็นเวลา 5- 12 ชั่วโมง

8

9 เค้าโครงงานวิจัยสำหรับ วิทยานิพนธ์ 1. ระยะเวลาและความรุนแรงของการเกิด อาการ Discoloration ของข่าอ่อนพร้อมบริโภค 2. สาเหตุของอาการ Discoloration ที่เกิด ขึ้นกับข่าอ่อนพร้อมบริโภค 3. การลดอาการ Discoloration ของข่าอ่อน พร้อมบริโภค 3.1 ตามวิธีการใช้สารเคมีของพ่อค้ารับ ซื้อ / เกษตรกร 3.2 ทดสอบวิธีการอื่นที่ไม่ใช้สารเคมี เช่น Controlled หรือ Modified Atmospheres ร่วมกับการใช้ความ เย็น

10 การศึกษาระยะเวลาและความรุนแรง ของ อาการ Discoloration ข่าอ่อน : เหง้าเดี่ยว ( ไม่เข้ากำ ) ระยะเวลา : ภายใน 24 ชั่วโมง ( ทุกๆ 0.5 ชั่วโมง ในช่วงแรกภายหลัง การตัดแต่งเหง้า ทุกๆ 2-3 ชั่วโมง ในช่วงหลัง ) สภาพที่ทำการศึกษา : สภาพห้อง และ อุณหภูมิต่ำ (12-15  C) การบันทึกผล : 1) สีผิวของเหง้า โดยใช้ค่า ความสว่าง (L value) 2) น้ำหนักของกำข่าอ่อน

11 การศึกษาสาเหตุของอาการ Discoloration สมมุติฐาน : Oxidative reaction of enzymes e.g. Polyphenol Oxidase ก ) ปริมาณหรือกิจกรรมของเอนไซม์ที่พบ ตามธรรมชาติของข่าอ่อน ข ) ตำแหน่งต่างๆ ของเหง้าข่าอ่อนที่พบ เอนไซม์ ข่าอ่อน : ที่ผ่านการตัดแต่ง และที่ไม่ผ่าน การตัดแต่ง สภาพที่ทำการศึกษา : สภาพห้อง การบันทึกผล : 1) ปริมาณ หรือกิจกรรม ของ เอนไซม์ 2) สีผิวของเหง้า (L value)

12 การลดอาการ Discoloration ด้วยการใช้สารเคมี ประเด็นสำคัญ : อาจมีปริมาณของ SO 2 ตกค้างเกินกำหนด ข่าอ่อนพร้อมบริโภคที่ซื้อจากพ่อค้ารับ ซื้อและเกษตรกร ทดสอบหรือวิเคราะห์ปริมาณของ SO 2 ในระยะเวลาต่างๆ ภายหลังการเก็บรักษา

13 การลดอาการ Discoloration ด้วยการไม่ใช้สารเคมี ข่าอ่อนพร้อมบริโภคที่ซื้อจากพ่อค้ารับ ซื้อและเกษตรกร ทดสอบวิธีการอื่นที่ไม่ใช้สารเคมี เช่น ความร้อน Controlled หรือ Modified Atmospheres (CA or MA) ร่วมกับการใช้ความเย็น ( ห้องเย็น ถัง น้ำแข็ง น้ำแข็งแห้ง ) เช่น 1) บรรจุในถาดโฟมหุ้มด้วย plastic film 2) ถุงพลาสติกชนิดต่างๆ ขนาดบรรจุ 250 กรัม 3) Vacuum sealing


ดาวน์โหลด ppt การยืดอายุการวางจำหน่าย ของ ข่าอ่อนพร้อมบริโภค ด้วยวิธีการไม่ใช้สารเคมี ….. นางอุบล ชิน วัง …..

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google