งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่องกำหนดคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งเป็นผู้แทนฝ่ายนายจ้างและผู้แทนฝ่ายลูกจ้างในคณะกรรมการไตรภาคี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่องกำหนดคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งเป็นผู้แทนฝ่ายนายจ้างและผู้แทนฝ่ายลูกจ้างในคณะกรรมการไตรภาคี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่องกำหนดคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งเป็นผู้แทนฝ่ายนายจ้างและผู้แทนฝ่ายลูกจ้างในคณะกรรมการไตรภาคี พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 16 มิถุนายน 2553

2 สรุปสาระสำคัญ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

3 การนำไปปฏิบัติและสิ่งที่ต้องตรวจสอบ
1. กำหนดลักษณะ คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้เข้ารับการเลือกตั้งเป็นผู้แทนฝ่ายนายจ้างและผู้แทนฝ่ายลูกจ้างในคณะกรรมการสภาที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาแรงงานแห่งชาติ - สัญชาติไทย - เป็นนายจ้างหรือลูกจ้าง - ไม่ดำรงตำแหน่งกรรมการสภาที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาแรงงานแห่งชาติติดต่อกันเกิน 4 ปี

4 การนำไปปฏิบัติและสิ่งที่ต้องตรวจสอบ
2. กำหนดลักษณะ คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งเป็นผู้แทนฝ่ายนายจ้างและผู้แทนฝ่ายลูกจ้าง ในคณะกรรมการค่าจ้าง - มีสัญชาติไทย - มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป - มีความเลื่อมใสในการปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข - เป็นนายจ้างหรือลูกจ้าง

5 การนำไปปฏิบัติและสิ่งที่ต้องตรวจสอบ
- ในกรณีผู้สมัครถูกเสนอชื่อโดยสมาคมนายจ้าง สหภาพแรงงาน หรือคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ต้องเป็นหรือเคยเป็นกรรมการสมาคมนายจ้างหรือกรรมการสหภาพแรงงาน หรือเป็นหรือเคยเป็นกรรมการลูกจ้างหรือกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ - เป็นผู้มีความรู้ หรือประสบการณ์เกี่ยวกับการคุ้มครองแรงงานและการแรงงานสัมพันธ์ - ไม่เคยต้องโทษจำคุก โดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ - ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ

6 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่องกำหนดคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งเป็นผู้แทนฝ่ายนายจ้างและผู้แทนฝ่ายลูกจ้างในคณะกรรมการไตรภาคี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google