งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อาชีพ จริยธรรมทางการตลาด และจรรยาบรรณของนักการตลาด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อาชีพ จริยธรรมทางการตลาด และจรรยาบรรณของนักการตลาด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อาชีพ จริยธรรมทางการตลาด และจรรยาบรรณของนักการตลาด
11 อาชีพ จริยธรรมทางการตลาด และจรรยาบรรณของนักการตลาด ตำแหน่งงานทางการตลาด จริยธรรมทางการตลาด จรรยาบรรณของนักการตลาด และความรับผิดชอบทางการตลาด การสร้างสมดุลของเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม เรียบเรียงเนื้อหา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปิยพรรณ กลั่นกลิ่น จัดทำสไลด์ อาจารย์เอก บุญเจือ

2 ตำแหน่งงานทางการตลาด
งานโฆษณา (และการสื่อสารการตลาด) ทักษะการติดต่อสื่อสาร ความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการผลิตสื่อ ทักษะการนำเสนอข่าวสาร การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย การวางแผนสื่อ นอกจากการโฆษณาแล้ว ยังอาจรวมถึงการผลิตสื่อทางตรง และการจัดกิจกรรมการตลาด (Marketing Event) ผู้บริหารลูกค้า (Account Executive) ผู้เขียนต้นฉบับงานโฆษณา (Copy Writer) ผู้กำกับฝ่ายศิลป์ (Art Director) ฝ่ายศิลป์ (Agency Artist) ผู้จัดการสร้าง (Production Manager) ผู้วางแผนสื่อ (Media Planner)

3 ตำแหน่งงานทางการตลาด
งานด้านการประชาสัมพันธ์ ทักษะการติดต่อสื่อสาร ทักษะการพูดจูงใจ ทักษะการเขียนข่าว ทัศนคติเชิงบวกต่องาน ไหวพริบ ปฏิภาณ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า บุคลิกภาพ น้ำเสียง พนักงานต้อนรับ (Reception) พนักงานรับโทรศัพท์ (Operator/Call Center) พนักงานชุมชนสัมพันธ์ (Community Relation) พนักงานลูกค้าสัมพันธ์/บริการลูกค้า (Customer Services) ทูตองค์การ/แบรนด์ (Organization/Brand Ambassador) พนักงานประชาสัมพันธ์สินค้า (Pretty)

4 ตำแหน่งงานทางการตลาด
งานบริหารผลิตภัณฑ์และแบรนด์ ทักษะการวางแผน คาดการณ์และวิเคราะห์ อย่างเป็นระบบ การติดตามสถานการณ์ของตลาด (ผู้บริโภค คู่แข่งขัน แนวโน้ม) ทำงานเป็นทีม ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ และการดำเนินงาน ผู้จัดการ/ผู้ช่วยผู้จัดการแบรนด์ (Brand Manager/Asst.) ผู้จัดการ/ผู้ช่วยผู้จัดการผลิตภัณฑ์ (Product Manager/Asst.) ผู้จัดการกลุ่มผลิตภัณฑ์ (Product Category Manager) นักวิเคราะห์ตลาด (Market Analyst) นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Product Development Specialist) ผู้อำนวยการโครงการ (Project Director)

5 ตำแหน่งงานทางการตลาด
งานด้านการขายและบริหารงานขาย ทักษะการติดต่อสื่อสาร ความรู้เกี่ยวกับตัวผลิตภัณฑ์ การจัดการเวลา ทักษะการเจรจาต่อรอง ทักษะการสร้างความสัมพันธ์ เทคนิคการกระตุ้นการซื้อ ทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า เป็นการขายตามเขตการขาย ทั้งผู้บริโภคและตลาดองค์การ พนักงานขายฝึกหัด (Sales Trainee) พนักงานขาย (Salesperson) พนักงานขายสำหรับลูกค้าสำคัญ (Key Account Salesperson) ผู้จัดการเขตการขาย (Sales District Manager) ผู้จัดการภูมิภาค/เขตการขาย (Regional/Zone Sales Manager) ผู้จัดการขายระดับประเทศ (National/Country Sales Manager)

6 ตำแหน่งงานทางการตลาด
งานด้านการค้าปลีก (และการบริการ) ทักษะการขาย ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ การจัดและนำเสนอผลิตภัณฑ์ ความสามารถในการจัดการผลิตภัณฑ์ การวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้า จิตบริการ มีทั้งการค้าปลีกในร้านค้าปลีก และการนำเสนอผลิตภัณฑ์บริการ พนักงานขายในร้านค้าปลีก (Retail Salesperson) พนักงานบริการ (Service Staff) ผู้จัดการแผนก (Department Manager) ฝ่ายจัดซื้อ (Purchaser/Merchandiser) ผู้จัดการร้านค้า (Store Manager) ผู้จัดการเขต/ภูมิภาค (Zone/Regional Manager)

7 ตำแหน่งงานทางการตลาด
งานด้านการวิจัยการตลาด (และการวิเคราะห์ข้อมูลการตลาด) ความรู้ด้านการตลาด ความรู้ด้านจิตวิทยา ความรู้ด้านสถิติ ทักษะการสัมภาษณ์ ทักษะการเก็บรวบรวมข้อมูล ทักษะการวิเคราะห์ข้อมูล การบริหารโครงการ มีทั้งงานในกิจการทั่วไป และงานในบริษัทวิจัย นักวิจัยการตลาด (Marketing Researcher) หัวหน้าโครงการวิจัย (Project Leader) ผู้จัดการฝ่ายวิจัยการตลาด (Marketing Research Manager) นักวิเคราะห์ข้อมูลการตลาด (Marketing Information Analyst) ผู้ประสานงานการวิจัย (Research Coordinator) ผู้วางแผนกลยุทธ์การตลาด (Marketing Strategy Planner)

8 ตำแหน่งงานทางการตลาด
งานด้านการตลาดและการบริการในองค์การที่ไม่แสวงหากำไร ความรู้ด้านการตลาด ความรู้เกี่ยวกับเป้าหมายขององค์การ จิตสำนึกและการตระหนักถึงสังคม การอุทิศตนต่อการทำงาน จิตบริการ จิตอาสา มีทั้งการทำงานในองค์การการกุศล หน่วยงานราชการ องค์การอิสระ อาสาสมัครฝึกงาน (Intern Volunteer) พนักงานประชาสัมพันธ์ (Public Relations Agent) ผู้ประสานงานกิจกรรม (Event Coordinator) ผู้อำนวยการด้านการพัฒนา (Director of Development) ผู้อำนวยการด้านการตลาด (Marketing Director)

9 จริยธรรมทางการตลาด จริยธรรม จริยธรรมทางการตลาด
หลักการหรือมาตรฐานที่ใช้ในการ ควบคุมความประพฤติของคน เรียกว่า “ศีลธรรมจรรยา” (Funk and Wagnalls, 1991:369) จริยธรรมทางการตลาด การดำเนินการทางการตลาด โดยยึดหลักของศีลธรรมจรรยา เพื่อให้เกิดการดำเนินการทาง การตลาดที่ถูกต้อง ดีงาม

10 จรรยาบรรณของนักการตลาด
ข้อกำหนดเกี่ยวกับการประพฤติปฏิบัติที่เป็นลายลักษณ์อักษรขององค์การวิชาชีพที่กำหนดให้สมาชิกของวิชาชีพนั้น ๆ ประพฤติปฏิบัติเพื่อรักษาและส่งเสริมชื่อเสียง เกียรติคุณและฐานสมาชิกและของวิชาชีพนั้น ๆ จรรยาบรรณ เป็นส่วนหนึ่งของจริยธรรม (สมคิด บางโม, 2549) จรรยาบรรณของนักการตลาด หลักการหรือมาตรฐานในการปฏิบัติงานทางการตลาด ซึ่งเป็นหลักการร่วมกันที่นักการตลาดพึงยึดปฏิบัติอย่างมีคุณธรรมเพื่อให้เกิดความถูกต้อง ดีงาม เหมาะสมในการประกอบวิชาชีพด้านการตลาด และมีความรับผิดชอบต่อผลการกระทำของตน

11 ความรับผิดชอบทางการตลาด
การกระทำหรือการตัดสินใจทางการตลาดที่คำนึงถึงลูกค้า ผู้ที่ติดต่อทางเพื่อนร่วมงาน เพื่อนร่วมวิชาชีพ ตลอดจน สังคมโดยรวม ให้ได้รับผลกระทบทางลบให้น้อยที่สุด จากการตัดสินใจนั้น (วิทวัส รุ่งเรืองผล, 2546) นักการตลาดเป็นอาชีพที่สังคมคาดหวังว่าจะต้องเป็น ผู้มีจริยธรรมและมีจรรยาบรรณ เนื่องจาก กิจกรรมทางการตลาดมักส่งผลกระทบต่อ คนในสังคมเป็นจำนวนมาก ปัจจุบันกระแสการเรียกร้องจากผู้บริโภค ที่ใส่ใจกับสังคมและสิ่งแวดล้อมมีมากขึ้น

12 จริยธรรมของนักการตลาดที่มีต่อผู้มีส่วนได้เสีย
ลูกค้าและผู้บริโภค เจ้าของกิจการและหุ้นส่วน ผู้ขายวัตถุดิบและพันธมิตร เจ้าหนี้ นักการตลาด สื่อมวลชน หน่วยงานราชการ บุคลากรในองค์การ คู่แข่งขัน สิ่งแวดล้อม ชุมชนและสังคม

13 การสร้างสมดุลของเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
กิจการที่มุ่งเน้นสร้างกำไร (For Profit Enterprise) ในปัจจุบันธุรกิจต่าง ๆ จำนวนมาก ได้มีการดำเนินงานตามแนวคิดการตลาดเพื่อสังคม (Societal Marketing Concept) โดยการ จัดกิจกรรมที่แสดงถึงความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสังคม (Corporate Social Responsibility : CSR) กิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise) ธุรกิจอีกรูปแบบหนึ่งที่จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อฟื้นฟู ดูแลรักษา อนุรักษ์ และสร้างสมดุลให้แก่สังคม Triple Bottom Line (TBL) ของธุรกิจเพื่อสังคม จะต้องคำนึงถึง ด้านสังคม (Social) ด้านสิ่งแวดล้อม (Environment) ด้านเศรษฐกิจ (Economic)

14 อาชีพ จริยธรรมทางการตลาด และจรรยาบรรณของนักการตลาด
11 อาชีพ จริยธรรมทางการตลาด และจรรยาบรรณของนักการตลาด ตำแหน่งงานทางการตลาด จริยธรรมทางการตลาด จรรยาบรรณของนักการตลาด และความรับผิดชอบทางการตลาด การสร้างสมดุลของเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม เรียบเรียงเนื้อหา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปิยพรรณ กลั่นกลิ่น จัดทำสไลด์ อาจารย์เอก บุญเจือ


ดาวน์โหลด ppt อาชีพ จริยธรรมทางการตลาด และจรรยาบรรณของนักการตลาด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google