งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การกำหนดโครงการ (Project Scheduling: PERT / CPM)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การกำหนดโครงการ (Project Scheduling: PERT / CPM)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การกำหนดโครงการ (Project Scheduling: PERT / CPM)

2 วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
สามารถบอกความหมายของการวิเคราะห์ข่ายงาน ( PERT / CPM ) ได้ อธิบายความแตกต่างของ PERT กับ CPM ได้ บอกรายละเอียด สัญลักษณ์ในการสร้างเครือข่ายงานได้

3 วิเคราะห์ข่ายงาน PERT / CPM ได้
สามารถสร้างตารางกิจกรรมได้ สร้างตารางสรุปผลที่ได้จากการศึกษาและวิเคราะห์รายละเอียดของโครงการ เมื่อกำหนดผลที่ได้จากการศึกษาและวิเคราะห์มาให้ได้ สร้างข่ายงาน PERT / CPM ได้ วิเคราะห์ข่ายงาน PERT / CPM ได้

4 การกำหนดโครงการ (Project Scheduling: PERT / CPM)
Project Evaluation and Review Technique (PERT) PERT Networks Project Scheduling with PERT / CPM PERT Analysis Algorithm

5 ต่อ Critical Path Method (CPM) PERT นำมาใช้กับโครงการที่มี เวลาดำเนินการไม่แน่นอน CPM นำไปใช้กับโครงการที่สามารถประมาณเวลารวมทั้งค่าใช้จ่ายในการ ดำเนินโครงการได้แน่นอน

6 6.1. PERT Network Program Evaluation Review Technique (PERT)
เป็นการกำหนดแผนการดำเนินการโครงการโดยพิจารณาจุดเริ่มต้น (Start – S ) และจุดสิ้นสุด (Finish - F) ของกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโครงการ โดยเน้นระยะเวลาที่เหมาะสมที่สุดในการตัดสินใจ

7 การกำหนดโครงการแบบ PERT จะใช้วิธีโครงสร้างเครือข่าย โดยเวลาที่พิจารณาสามารถพิจารณาจากกิจกรรมต่างๆ ในโครงการดังนี้ ระยะเวลาที่แต่ละกิจกรรมดำเนินการอยู่ ระยะที่สูญเสียไปน้อยที่สุด

8 เส้นทบวิกฤต Critical Path จะแสดงให้เห็นถึงโครงสร้างเครือข่ายที่การดำเนินกิจกรรมในโครงการมีเวลาที่เสียไป = 0 ( Zero Slack) nodes แสดงกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้น arc (or Arrows) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมในโครงการ

9 สูตรในการคำนวณใช้ระยะเวลาเฉลี่ยในการดำเนินการ Mean Completion time
วิธีการคำนวณระยะเวลาที่เกิดขึ้นในแต่ละกิจกรรมโดยพิจารณาจากระยะเวลาที่ใช้ไปในการดำเนินการ สูตรในการคำนวณใช้ระยะเวลาเฉลี่ยในการดำเนินการ Mean Completion time

10 6.2. PERT Analysis Algorithm
Step 1 : พิจารณากิจกรรมแต่ละกิจกรรม โดยเริ่มที่จุดเริ่มต้นของโครงการทำการคำนวณ Earliest Start Time = เวลาที่เร็วที่สุดที่จะเริ่มต้นทำกิจกรรมได้ (สำหรับกิจกรรมที่ไม่ได้เริ่มต้นจะมีค่า 0) Earliest Finish Time = เวลาเสร็จสิ้นเร็วที่สุดในแต่ละกิจกรรม = ( Earliest Start Time) + (เวลาที่กิจกรรม 1 เสร็จสิ้น)

11

12 Step 2 : พิจารณากิจกรรมแต่ละกิจกรรม โดยเริ่มที่จุดสิ้นสุดแล้วเคลื่อนที่กลับไปยังจุดเริ่มต้นโครงการ วิธีการคำนวณมีดังนี้ Latest Finish Time = เวลาเสร็จสิ้นอย่างช้าที่สุดของกิจกรรมโดยไม่ทำให้เวลาของโครงการเปลี่ยนแปลง ณ จุดสิ้นสุดจะเป็นระยะเวลาที่ทำงานเสร็จสมบูรณ์ Latest Start Time เวลาที่ช้าที่สุดที่จะเริ่มต้น = (Latest Finish Time) - (เวลาที่ทำกิจกรรม I เสร็จสิ้น)

13

14 Step 3 : Calculate the Slack Time for Each Activity by :
Slack = (Latest Start) - (Earliest Start) or = (Latest Finish) - (Earliest Finish) เส้นทางวิกฤติ คือ เส้นทางของกิจกรรมจากจุดเริ่มต้น ถึงจุดสุดท้ายเมื่อSlack times เท่ากับ 0 ดังนั้น ที่ Slack = 0 คือ critical path และกิจกรรมที่อยู่บนเส้นทางวิกฤต เรียกว่า กิจกรรมวิกฤติ คือจะต้องดำเนินกิจกรรมให้สำเร็จในระยะเวลาที่กำหนด ไม่สามารถล่าช้าได้

15

16

17

18 6.4. PERT Network Representation

19

20

21

22 กิจกรรมในชั้นเรียน การบ้าน

23 คำถาม


ดาวน์โหลด ppt การกำหนดโครงการ (Project Scheduling: PERT / CPM)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google