งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Decision Tree Analysis

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Decision Tree Analysis"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Decision Tree Analysis

2 Decision Tree วิธีนี้เป็นการใช้ผังต้นไม้ในการเขียนอธิบายการประมวลผลโดยจำลองกิ่งก้านสาขาของต้นไม้เป็นหลักโดยแตกจากรากทางซ้ายมือ แตกเป็นกิ่งอยู่ทางขวามือ แตกกิ่งไปเรื่อย ๆ จนครบเงื่อนไขทั้งหมดและกิ่งสุดท้ายของทุกกิ่งคือกิจกรรมที่ต้องกระทำ เมื่อเป็นตามเงื่อนไขนั้น

3 กระบวนการกลั่นกรองประเด็นปัญหา

4 ขั้นตอนการสร้างผังต้นไม้
เขียนเริ่มต้นจากรากแตกกิ่งไปตามจำนวนเงื่อนไขที่เป็นไปตามกฎโดยพิจารณาเงื่อนไขที่เกิดขึ้นในการตัดสินใจเริ่มแรก แตกกิ่งของเงื่อนไขแรกนั้นเป็นเงื่อนไขถัดไป แตกกิ่งของเงื่อนไขต่อไป จนกระทั่งหมดเงื่อนไขที่เกิดขึ้น เขียนกิ่งของกิจกรรมที่จะต้องกระทำเมื่อเป็นไปตามเงื่อนไขจากรากไปปลายกิ่งเงื่อนไขแต่ละกิ่ง

5 หลักการสร้างผังต้นไม้

6 การวิเคราะห์แบบกิ่งก้านสาขา
นิยมใช้เมื่อมีเหตุการณ์ตั้งแต่ 2 เหตุการณ์ขึ้นไปที่เกิดต่อเนื่องกัน โดยผู้ตัดสินใจมีทางเลือกหลายทาง แต่ไม่ทราบผลลัพธ์ของแต่ละทางเลือก จะบอกทางเลือก(วิธีการตัดสินใจ ความน่าจะเป็นของแต่ละทางเลือก รวมทั้งบอกค่าใช้จ่ายหรือสิ่งที่ต้องเสียไป เพื่อให้ได้ซึ่งผลลัพธ์ของแต่ละทางเลือก) เมื่อปัญหาคลี่คลายหรือเวลาผ่านไป อาจจะพบทางเลือกใหม่ๆ หรือได้ผลลัพธ์/ผลตอบแทนในขั้นสุดท้าย และทำการตัดสินใจคัดสรรทางเลือกที่คาดว่าจะได้ผลตอบแทนที่ดีที่สุด

7 ขั้นตอนการวิเคราะห์แบบกิ่งก้านสาขา
ระบุปัญหา ร่างโครงสร้างการวิเคราะห์แบบกิ่งก้านสาขา ระบุความน่าจะเป็นของแต่ละทางเลือก ประเมินผลตอบแทนที่คาดหวังของแต่ละทางเลือก วิเคราะห์ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ ด้วยการคำนวณย้อนหลังไปจากทางขวาสุดของกิ่งก้านมาทางซ้ายสุด

8 รูปแบบของแผนภาพ มีสัญลักษณ์ที่สำคัญดังนี้
เส้นตรง แสดงถึง ทางเลือกหรือสภาวการณ์ที่เกิดขึ้น สี่เหลี่ยม แสดงถึง จุดที่ต้องมีการตัดสินใจ เส้นตรงหลัง สี่เหลี่ยม หมายถึงทางเลือกที่ใช้ตัดสินใจ วงกลม แสดงถึง จุดที่ระบุว่ามีสภาวการณ์ต่างๆเกิดขึ้น เส้นตรงหลังวงกลม คือ สภาวการณ์ที่เกิดขึ้น

9 ตัวอย่างของแผนผังการตัดสินใจ
สภาวการณ์ที่ 1 ผลตอบแทนที่ 1 ทางเลือกที่ 1 สภาวการณ์ที่ 2 ผลตอบแทนที่ 2 สภาวการณ์ที่ 3 ผลตอบแทนที่ 3 ทางเลือกที่ 2 สภาวการณ์ที่ 4 ผลตอบแทนที่ 4 สภาวการณ์ที่ 5 ผลตอบแทนที่ 5 ทางเลือกที่ 3 สภาวการณ์ที่ 6 ผลตอบแทนที่ 6 จะเห็นว่าทุกครั้ง หลังจุดตัดสินใจ จะเป็นทางเลือกต่างๆ ในขณะที่หลังเครื่องหมาย จะเป็นสภาวการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น

10 ตัวอย่างการเขียนผังต้นไม้
ได้รับ 5% ของยอดขาย ได้รับจดหมายเชิดชูเกียรติ ได้เลื่อนตำแหน่ง ยอดขาย > 50,000 บาท ยอดขายทั้งแผนก > 1 ล้านบาท ได้รับ 5% ของยอดขาย ได้รับจดหมายเชิดชูเกียรติ ยอดขาย <= 50,000 บาท ได้รับ 2% ของยอดขาย ได้รับจดหมายเชิดชูเกียรติ ยอดขาย > 50,000 บาท ยอดขายทั้งแผนก <= 1 ล้านบาท ยอดขาย <= 50,000 บาท

11 ข้อสังเกตบางประการในการเขียนแขนงการตัดสินใจ
สร้างจากด้านซ้ายไปขวา ทางเลือกต้องมากกว่า 1ทาง สภาวการณ์ต้องเกิดอย่างน้อย 1 สภาวการณ์

12 ผังต้นไม้ (Decision Tree)

13 ผังต้นไม้ (Decision Tree)

14 ผังต้นไม้ (Decision Tree)

15 จะเลือกวิธีผังต้นไม้ (Decision Tree) เมื่อ
การเกิดเงื่อนไขต่าง ๆ และการกระทำกิจกรรมเป็นไปตามลำดับก่อนหลัง กรณีที่มีเงือนไขหลากหลายแบบ ในการแตกกิ่งที่แตกต่างกันไป โดยเงื่อนไขไม่จำกัด

16 ตัวอย่างการวิเคราะห์แบบกิ่งก้านสาขา
สมมติว่า เทศบาลแห่งหนึ่งมีโครงการก่อสร้างตลาดแห่งใหม่เพื่อรองรับการขยายตัวของชุมชนขณะเศรษฐกิจเติบโต โดยเทศบาลให้มีการศึกษาความน่าจะเป็นรวมทั้งค่าใช่จ่ายในการก่อสร้างจากทางเลือก 3 ทาง คือ สร้างตลาดขนาดใหญ่ สร้างตลาดขนาดกลางและไม่ก่อสร้างตลาดเลย ปรากฏผลการศึกษาดังนี้ ทางเลือก/ความน่าจะเป็น ปัจจัยทางบวก (บาท) ปัจจัยทางลบ (บาท) ตลาดขนาดใหญ่ (A1) 200,000 -180,000 ตลาดขนาดกลาง (A2) 100,000 -20,000 ไม่ก่อสร้างตลาดเลย (A3) ความน่าจะเป็น 0.5

17 ทำการคำนวณย้อนกลับจะได้ผลตอบแทนภายใต้ความแน่นอน คือ
+ 0.5 200,000 ตลาดขนาดใหญ่ A1 - 0.5 - 180,000 + 0.5 100,000 ตลาดขนาดกลาง A2 - 0.5 - 20,000 ไม่สร้างตลาด A3 ทำการคำนวณย้อนกลับจะได้ผลตอบแทนภายใต้ความแน่นอน คือ A1 = (200,000) (0.5) + (-180,000) (0.5) = 10,000 บาท A2 = (100,000) (0.5) + (-20,000) (0.5) = 40,000 บาท A3 = (0) + 0(0) = 0 บาท จะเห็นว่า ด้วยการวิเคราะห์แบบกิ่งก้านสาขาซึ่งคำนวณภายใต้หลักการของความน่าจะเป็น สรุปได้ว่า เทศบาลควรสร้างตลาดขนาดกลาง

18


ดาวน์โหลด ppt Decision Tree Analysis

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google