งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบาย , หลักการ และสิ่งที่อยากเห็น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบาย , หลักการ และสิ่งที่อยากเห็น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบาย , หลักการ และสิ่งที่อยากเห็น
นพ. วีระชัย สิทธิปิยะสกุล ผู้อำนวยการศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก หลักสูตรผู้นำการพัฒนาของศูนย์อนามัยที่ ๙ พิษณุโลก ผพศ ๑ พ.ย. 2555

2 Change Leadership Program CLP
หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลง ของศูนย์อนามัยที่๙ พิษณุโลก Change Leadership Program CLP หลักสูตรผู้นำการพัฒนาหลักสูตรด้าน การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ผพส ๑ หลักสูตรการเป็นผู้นำ หลักสูตรการสร้างศรัทธา ความมุ่งมั่น หลักสูตรการพัฒนาปัญญา หลักสูตรการพัฒนาสติ หลักสูตรการพัฒนาความคิด หลักสูตรการเป็นเจ้าของ หลักสูตรการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง คัมภีร์ซุนหวู่ กล่าวไว้ว่า รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง ผู้ชนะออกรบเมื่อแน่ใจว่าชนะ ผู้แพ้ออกรบโดยหวังว่าจะชนะ

3 ยินดีต้อนรับ New Wave ของศูนย์อนามัยที่๙ พิษณุโลก
นพ.วีระชัย สิทธิปิยะสกุล ผู้อำนวยการศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

4 Fit & Firm เก่ง ดี มีสุข เชื่อใจได้ go Inter
Change Agent ของศูนย์อนามัยที่ ๙ ที่อยากเห็น Can speak English ศรัทธา มุ่งมั่น ใช้ปัญญา และมี สติ ไม่ประมาท มีความเป็นผู้นำ ทำงานเป็นทีม Creative Thinking มีความเป็นเจ้าของ และปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลง ปัจจุบัน ประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาต่างให้ความสำคัญกับการนำองค์ความรู้มาใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ จากการจัดอันดับด้านการลงทุนในการวิจัยและพัฒนาต่อ GDP โดย IMD (International Institute for Management Development) ในปี 2003 พบว่า ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 57 จากทั้งหมด 59 ประเทศ โดยค่าใช้จ่ายดังกล่าว คิดเป็นเพียงร้อยละ ของ GDP โดยเป็นการลงทุนของภาครัฐกว่าร้อยละ 65 ซึ่งต่างจากประเทศที่พัฒนาแล้วที่ภาคเอกชนมีสัดส่วนการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนามากกว่า เนื่องจากภาคเอกชนเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนให้เกิดการสร้างและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศ สำหรับแนวโน้มในปัจจุบัน ประเทศพัฒนาแล้วเริ่มหันมาให้ความสำคัญต่อการนำผลงานวิจัยและองค์ความรู้ภายในประเทศมาใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ทั้งนี้เพื่อผลักดันเศรษฐกิจของประเทศและเพิ่มประสิทธิภาพจากงบประมาณการวิจัย นอกจากนั้น ยังให้ความสำคัญกับการต่อยอดองค์ความรู้จากต่างประเทศและการป้องกันการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของประเทศ ส่วนประเทศกำลังพัฒนานั้น เน้นที่ความเร็วในการพัฒนาเทคโนโลยีของตนเป็นหลัก เนื่องจากทรัพยากรในการวิจัยพัฒนาและองค์ความรู้ที่มีอยู่ไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศพัฒนาแล้ว ดังนั้น การลงทุนจึงต้องพิจารณาค่าเสียโอกาสของทรัพยากร (Opportunity Cost) และต้องให้ความสำคัญกับการต่อยอดองค์ความรู้จากต่างประเทศ ดังนั้น ไทยจึงจำเป็นต้องเร่งให้ความสำคัญกับเรื่องนี้ โดยภาครัฐควรสนับสนุนให้เกิดระบบการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์จากองค์ความรู้ทั้งภายในและภายนอกประเทศ (Internal and External Knowledge Commercialisation) ซึ่งนับเป็นปัจจัยสำคัญในการผลักดันให้เกิดการสร้างและพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี ตลอดจนนำพาประเทศไปสู่การเป็นเศรษฐกิจฐานความรู้ Knowledge-based Economy (KBE) Fit & Firm

5

6

7 9Qs ระดับความสามารถ 9 ด้าน ของผู้นำยุคใหม่
Adversity Quotient ด้านฝ่าฟันอุปสรรค AQ BQ CQ EQ IQ MQ PQ SQ VQ Business Quotient ด้านเชิงธุรกิจ Cultural Quotient ด้านวัฒนธรรมองค์กร Emotional Quotient ด้านอารมณ์ จิตใจ Intelligence Quotient ด้าน เชาวน์ปัญญา Moral Quotient ด้านคุณธรรม Political Quotient ด้านการเมือง Spiritual Quotient ด้านจิตวิญญาณ น้ำใจ Value Quotient ด้านการเพิ่มคุณค่า

8 Change Leadership Program CLP
หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลง ของศูนย์อนามัยที่๙ พิษณุโลก Change Leadership Program CLP หลักสูตรผู้นำการพัฒนาหลักสูตรด้าน การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ผพส ๑ หลักสูตรการเป็นผู้นำ หลักสูตรการสร้างศรัทธา ความมุ่งมั่น หลักสูตรการพัฒนาปัญญา หลักสูตรการพัฒนาสติ หลักสูตรการพัฒนาความคิด หลักสูตรการเป็นเจ้าของ หลักสูตรการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง คัมภีร์ซุนหวู่ กล่าวไว้ว่า รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง ผู้ชนะออกรบเมื่อแน่ใจว่าชนะ ผู้แพ้ออกรบโดยหวังว่าจะชนะ

9 สาระเรื่องไม่เป็นเรื่อง และเรื่องที่เป็นเรื่อง
เก็บตกมาฝาก สาระเรื่องไม่เป็นเรื่อง และเรื่องที่เป็นเรื่อง นพ. วีระชัย สิทธิปิยะสกุล ผู้อำนวยการศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก อะไรกันนักกันหนา การพํฒนาศักยภาพ สมรรถภาพ ของการเป็น Change agent

10 ต้องรู้จักธรรมชาติของมนุษย์
ไม่ชอบการตำหนิ อุปนิสัย/ความนึกคิดเป็นไปตามวัย ชื่อเป็นสิ่งสำคัญ ชอบความเด่น ไม่ชอบการโต้แย้ง ถ้าคนอื่นแย่จะรู้สึกมันมาก ชอบคนอื่นพูดเรื่องที่ตนสนใจ ทุกคนมักสนใจตัวเอง ทุกคนชอบความเป็นกันเอง ชอบให้คนอื่นฟังเราพูด

11 Need-Incentive-Drive Theory
Obstacles อุปสรรค Needs ความต้องการ Incentive สิ่งล่อใจ Drive แรงขับ

12 ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ Maslow ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ Maslow
Hierarchy of Needs Hierarchy of Needs Physiological Safety Social Esteem Self-Actualization Physiological Safety Social Esteem Self-Actualization Physiological Safety Social Esteem Self-Actualization Physiological Safety Social Esteem Self-Actualization Physiological Safety Social Esteem Self-Actualization Physiological Safety Social Esteem Self-Actualization Physiological Safety Social Esteem Self-Actualization Physiological Safety Social Esteem Self-Actualization Physiological Safety Social Esteem Self-Actualization Physiological Safety Social Esteem Self-Actualization Physiological Safety Social Esteem Self-Actualization Physiological Safety Social Esteem Self-Actualization Physiological Safety Social Esteem Self-Actualization ความต้องการสัมฤทธิ์ของตน ความต้องการความนับถือ ความต้องการทางสังคม ความต้องการความปลอดภัย ความต้องการทางด้านร่างกาย ความพึงพอใจได้รับการตอบสนอง ความต้องการขั้นสูง

13 รู้เท่าทัน ผัสสะ ขันธ์5 รูปขันธ์ - นามขันธ์
กระบวนการรับรู้ กระบวนธรรม กระบวนการรับรู้บริสุทธ์ กระบวนสังสารวัฏ ศีล ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เวทนา (รู้สึกต่ออารมณ์) สุข ทุกข์ อทุกขมสุข สัญญา (จำได้ หมายรู้) หมายรู้อารมณ์ อายตนะภายนอก6 สมาธิ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ความคิด ปัญญา สติ สังขาร (คิดปรุงแต่ง) โลภะ โทสะ โมหะ ผัสสะ อายตนะภายใน6 ขันธ์5 รูปขันธ์ - นามขันธ์ วิญญาณ

14 จงศรัทธาในงานที่ทำอยู่ มีความวิริยะ ไม่ย้อท้อต่อสิ่งที่กระทำอยู่
แบบใช้ปัญญา มีความวิริยะ ไม่ย้อท้อต่อสิ่งที่กระทำอยู่ ธรรมะ

15 .ทดสอบพลังกันหน่อยครับ
Mission Impossible

16 ต้องรู้ทั้งกว้างและลึก
ในภาวะปัจจุบัน ผู้ที่อยู่แนวหน้า ต้องรู้ทั้งกว้างและลึก

17 SMALL IS BEAUTIFUL

18 ต้องเจริญสติเสมอ สติ-สัมปชัญญะ ระลึก-รู้ สติ ปัญญา สมาธิ ศีล ศีล สมาธิ

19 จุดไฟในตัวเราให้ลุกตลอดเวลา
ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา อิทธิบาท4

20 We are the CHAMPION

21 บุพนิมิตร 7 รู้จักตัวเอง สมาธิ ปัญญา 1.กัลยาณมิตร(เพื่อนแท้)
7.โยนิโสมนสิการสัมปทา (คิดเป็น คิดถูก) 2.สีลสัมปทา(จัดระเบียบ) 6.อัปปมาทสัมปทา(ไม่ประมาท) 3.ฉันทสัมปทา(รักงาน) 5.ทิฏฐิสัมปทา(มองตามความจริง) 4.อัตตสัมปทา(เชื่อมั่น) สมาธิ ปัญญา

22 ธรรมอันไม่เป็นที่ตั้ง แห่งความเสื่อม อปริหานิยธรรม 7
1.พึงหมั่นประชุมเป็นเนืองนิตย์ 2.เมื่อประชุมก็พร้อมเพรียงกัน เลิกก็พร้อมเพรียงกันเลิก พร้อมเพรียงกันทำกิจพึงทำ 3.จักไม่บัญญัติสิ่งที่ยังไม่ได้บัญญัติ ไม่เพิกถอนสิ่งที่บัญญัติแล้ว Risk Management 4.พึงสักการะเคารพนับถือผู้อาวุโส 5.ไม่ตกในอำนาจตัณหาที่เกิดขึ้นแล้ว อันเป็นเหตุให้เกิดในภพต่อไป 6.จักพอใจในเสนาสนะป่า หมายถึง ปลีกวิเวก 7.จักต้องระลึกถึงกัน ดูแลกัน ตลอดจนถึงแขกที่มา

23 กาลามสูตร ฏษ,ษฒษศู๖ณ 6.อย่าปลงใจเชื่อโดยการอนุมาน
7.อย่าปลงใจเชื่อโดยการคิดตรองตามแนวเหตุผล 8.อย่าปลงใจเชื่อเพราะเข้ากันได้กับทฤษฏีของตน 9.อย่าปลงใจเชื่อเพราะมองเห็นรูปลักษณะน่าเชื่อ 10.อย่าปลงใจเชื่อเพราะนับถือว่าท่านสมณะนี้เป็นครูของเรา 1.อย่าปลงใจเชื่อโดยการฟัง ( เรียน ) ตามกันมา 2.อย่าปลงใจเชื่อโดยการถือสืบๆกันมา 3.อย่าปลงใจเชื่อโดยการเล่าลือ 4.อย่าปลงใจเชื่อโดยการอ้างตำรา 5.อย่าปลงใจเชื่อโดยตรรกะ สูตร

24 ผลลัพธ์ จุดประกาย IDEA

25 ขอบคุณที่ให้ความสนใจครับ
นพ. วีระชัย สิทธิปิยะสกุล ผู้อำนวยการศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก นพ. วีระชัย สิทธิปิยะสกุล ผู้อำนวยการศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก


ดาวน์โหลด ppt นโยบาย , หลักการ และสิ่งที่อยากเห็น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google