งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Pregnancy, childbirth and the puerperium (O00-O99)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Pregnancy, childbirth and the puerperium (O00-O99)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Pregnancy, childbirth and the puerperium (O00-O99)
Chapter XV Pregnancy, childbirth and the puerperium (O00-O99) การตั้งครรภ์, การคลอดและระยะหลังคลอด

2 ไม่รวม (Excludes) - Human immunodeficiency virus [HIV] disease ( B20-B24 ) - Injury, poisoning and certain other consequences of external cause ( S00-T98 ) - Mental and behavioural disorders associated with the puerperium ( F53.- ) - Obstetrical tetanus ( A34 ) - Postpartum necrosis of pituitary gland ( E23.0 ) - Puerperal osteomalacia ( M83.0 ) - Supervision of: · High-risk pregnancy ( Z35.- ) · Normal pregnancy ( Z34.- )

3 กลุ่มรหัส บทที่ 15 (O00 – O99) - O00-O08 Pregnancy with abortive outcome (ท้องแล้วแท้ง) - O10-O16 Oedema, proteinuria and hypertensive disorders in pregnancy, childbirth and the puerperium (การบวม การมีโปรตีนในปัสสาวะและความดันโลหิตสูง ขณะตั้งครรภ์ การคลอดและหลังคลอด) - O20-O29 Other maternal disorders predominantly related to pregnancy (ความผิดปกติอื่นที่ส่วนใหญ่เป็นผลจากการตั้งครรภ์)

4 กลุ่มรหัส บทที่ 15 (O00 – O99) - O30-O48 Maternal care related to the fetus and amniotic cavity and possible delivery problems (การดูแลมารดาที่เกี่ยวกับเด็กและถุงน้ำคร่ำและปัญหา ที่อาจเกิดเมื่อคลอด) - O60-O75 Complications of labour and delivery (โรคแทรกของการเจ็บครรภ์และการคลอด) - O80-O84 Delivery (การคลอด) - O85-O92 Complications predominantly related to the puerperium (โรคแทรกในระยะอยู่ไฟ/หลังคลอด) - O94-O99 Other obstetric conditions, not elsewhere classified (ภาวะทางการคลอดอื่นๆ ที่ไม่ได้ระบุไว้ที่อื่น)

5 จุดที่สำคัญในบทที่ 15 - ไม่มีรหัสที่มีเครื่องหมายดอกจัน (*) ในบทนี้ - ในการบันทึกรหัสในระบบคอมพิวเตอร์ต้องระวังอาจเกิดการสับสน ระหว่างอักษรโอ “O” กับเลข “0” - มี inclusion และ exclusion ทั้งที่ต้นกลุ่มรหัส และในรหัสบางชุด - 3 Block แรก (O00-O08, O10-O16, O20-O29) ส่วนใหญ่เกี่ยวกับ การตั้งครรภ์ - Block O95-O99 รวม maternal death ไว้ด้วย - Block O85-O92 ครอบคลุมระยะหลังคลอดและปัญหาของเต้านม ในการให้นมบุตรด้วย - Block O60-O75 Complications of Labour and delivery เรียงรหัส ตามขั้นตอนของการคลอด

6 ศัพท์ที่ควรรู้ Premature Pregnancy Gestational Labour Delivery Puerperium Preterm Post-term Post-date Prolong Term Childbirth Abortion GxPxAx Obstetric

7 การให้รหัส 1. มีการให้รหัสที่ไม่ตรงกับคำวินิจฉัย 2. บางครั้งต้องให้ 2 รหัส เช่น กรณีผู้ป่วยตั้งครรภ์ 3. บทนี้ไม่มีรหัสกริช/ดอกจัน 4. มีกฎการให้รหัสเฉพาะบท

8 การตั้งครรภ์ (Pregnancy) วันแรกของประจำเดือนปกติครั้งสุดท้าย Preg
การตั้งครรภ์ (Pregnancy) วันแรกของประจำเดือนปกติครั้งสุดท้าย Preg.Test = Positive & แพทย์ยืนยัน การแท้ง (abortion) หมายถึง การสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ไม่ว่าโดยวิธีใดก็ตามเมื่ออายุครรภ์น้อยกว่า 28 สัปดาห์ (196 วัน) การคลอดก่อนกำหนด (Preterm) หมายถึง การคลอดเมื่ออายุครรภ์ยังไม่ครบ 37 สัปดาห์เต็ม (259 วัน) อายุครรภ์คลอดปกติ (Term) หมายถึง การคลอดเมื่ออายุครรภ์ยังครบ 37 สัปดาห์เต็ม (259 วัน) ถึงอายุครรภ์ตั้งแต่ 42 สัปดาห์เต็ม (294 วัน) การตั้งครรภ์เกินกำหนด (Postterm) หมายถึง อายุครรภ์ตั้งแต่ 42 สัปดาห์เต็ม (294 วัน) ขึ้นไป

9 Abortion การแท้ง (abortion) หมายถึง การสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ไม่ว่าโดยวิธีใดก็ตามเมื่ออายุครรภ์น้อยกว่า 28 สัปดาห์ (196 วัน) นับจากวันแรกของประจำเดือนปกติครั้งสุดท้าย ถือว่าการตั้งครรภ์ปกติสิ้นสุดลงเมื่อทราบว่าทารกในครรภ์เสียชีวิต หรือเมื่อทารกนั้นผ่านพ้นโพรงมดลูกออกมาแล้ว รหัสการแท้งได้แก่รหัสในกลุ่ม O03 – O06 ประกอบด้วย • O03.- Spontaneous abortion หมายถึง การแท้งเอง • O04.- Medical abortion หมายถึง การทำแท้งโดยแพทย์ เพื่อการรักษา หรือมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ • O05.- Other abortion หมายถึง การทำแท้งผิดกฎหมาย • O06.- Unspecified abortion หมายถึง การแท้งที่ไม่ทราบว่า เป็น O03.-, O04.- หรือ O05.-

10 Abortion การแท้งจะมีการวินิจฉัยขั้นสุดท้ายเพียง 2 ชนิดเท่านั้น คือ
1. แท้งครบ (complete abortion) หมายถึง ตรวจไม่พบว่า มี product of conception เช่น รก ส่วนของรก หรือเยื่อหุ้ม ถุงน้ำคร่ำ หลงเหลืออยู่ในโพรงมดลูกหลังจากทารกแท้งออกมา ไม่ว่าจะตรวจด้วยวิธีใด การแท้งนั้นอาจเกิดก่อนหรือเกิดระหว่างรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาลก็ได้ 2. แท้งไม่ครบ (incomplete abortion) หมายถึง มีการตรวจพบ product of conception เช่น รก ส่วนของรก หรือเยื่อหุ้มถุงน้ำคร่ำ หลงเหลืออยู่ในโพรงมดลูกหลังจากทารกแท้งออกมา ผู้ให้รหัสอาจสังเกตได้จากมีหลักฐานการทำหัตถการขูดมดลูก (curette) เป็นส่วนหนึ่งของการให้บริการรักษาพยาบาลผู้ป่วย

11 Abortion การแท้งค้าง (missed abortion) หมายถึง การที่ทารกในครรภ์เสียชีวิตก่อนอายุครรภ์ครบ 28 สัปดาห์ (196 วัน) นับจากวันแรกของประจำเดือนปกติครั้งสุดท้าย แต่ทั้งตัวทารก รก และเยื่อหุ้มถุงน้ำคร่ำยังคงค้างอยู่ในโพรงมดลูก บางครั้งแพทย์อาจใช้คำว่า “fetal demise” ใช้รหัส O02.1 Missed abortion

12 ต้องระบุ แท้งไม่ครบ (Incomplete abortion) แพทย์ต้องระบุ และมักมีหัตถการการขูดมดลูก (curette) ไม่ระบุ ในกรณีที่แพทย์มิได้ระบุ และผู้ให้รหัสไม่สามารถหาข้อมูลได้ว่าเป็นการแท้งครบหรือไม่ครบ ให้ใส่รหัสหลักที่ 4 ของการแท้งนั้นเช่นเดียวกับการแท้งครบ (complete abortion)

13 กรณีที่ตรวจพบว่าทารกในครรภ์เสียชีวิตเมื่ออายุครรภ์ครบหรือมากกว่า 28 สัปดาห์ (196 วัน) นับจากวันแรกของประจำเดือนปกติครั้งสุดท้าย ไม่ถือว่าเป็นการแท้ง แพทย์มักวินิจฉัยภาวะนี้ว่า “intrauterine fetal death” หรือ “dead fetus in utero” ในการรับไว้รักษาภาวะนี้ให้ใช้รหัสการวินิจฉัย O36.4 Maternal care for intrauterine death

14 Pre-term delivery การคลอดก่อนกำหนด (Preterm) หมายถึง การคลอดเมื่ออายุครรภ์ยังไม่ครบ 37 สัปดาห์เต็ม (259 วัน) ส่วนใหญ่น้ำหนักแรกคลอดของทารกมักน้อยกว่า 2,500 กรัม ถ้ามีการระบุสาเหตุของการคลอดก่อนกำหนดไว้อย่างชัดเจน ให้ใช้รหัสของสาเหตุนั้นเป็นการวินิจฉัยหลัก และ ใช้กลุ่มรหัส O60 Preterm delivery เป็นการวินิจฉัยร่วม แต่ถ้าไม่มีการระบุสาเหตุให้ใช้รหัสกลุ่ม O60 Preterm delivery เป็นการวินิจฉัยหลัก ให้ใช้รหัสนี้เมื่อมั่นใจว่าเป็นการคลอดก่อนกำหนดจริงเท่านั้น ไม่ควรให้รหัสเมื่อมีความขัดแย้งของข้อมูล เช่น น้ำหนักแรกคลอดไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์

15 Post-term O48 Prolonged pregnancy Post-dates Post-term

16 TERMINATION OF PREGNANCY
การทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงก่อนอายุครรภ์ครบ 28 สัปดาห์ถือว่าเป็นการทำแท้ง (induced abortion) ถ้าทำเพื่อการรักษา (therapeutic abortion) หรือทำโดยมีเหตุผลหรือข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ ให้ใช้รหัสในกลุ่ม O04.- Medical abortion เป็นการวินิจฉัยหลัก และใช้รหัสที่บอกเหตุผลที่ต้องทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงซึ่งมักได้แก่รหัสในกลุ่ม O35.- Maternal care for known or suspected fetal abnormality and damage และ O36.- Maternal care for known or suspected fetal problems เป็นการวินิจฉัยร่วม ถ้าบังเอิญการทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงนั้นได้ทารกที่คลอดมีชีพ (livebirth) แม้จะเสียชีวิตในระยะเวลาสั้นๆ หลังคลอด ให้เพิ่มรหัสที่เหมาะสมในกลุ่มรหัส Z37.- Outcome of delivery เป็นการวินิจฉัยร่วม

17 TERMINATION OF PREGNANCY
ตัวอย่าง แพทย์ทำแท้งเมื่ออายุครรภ์ 19 สัปดาห์ เนื่องจากตรวจพบว่าทารกเป็น Down’s syndrome ได้ทารกคลอดเดี่ยว มีชีพ รกคลอดครบ ไม่มีภาวะแทรกซ้อน O04.9 Medical abortion, complete or unspecified, without complication Maternal care for (suspected) chromosomal abnormality in fetus, Single live birth O35.1, Z37.0

18 การให้รหัสผู้ป่วยตั้งครรภ์
โรคหลายอย่างที่รหัสจะเปลี่ยนไปจากเดิมมาอยู่ใน กลุ่มรหัส “O” เมื่อมีการตั้งครรภ์ เช่น I Hypertension เปลี่ยนเป็น O Pre-existing essential hypertension complicating pregnancy E DM type เปลี่ยนเป็น O Pre-existing diabetes mellitus, non-insulin-dependent I Hemorrhoids เปลี่ยนเป็น O Haemorrhoids in pregnancy

19 การให้รหัสผู้ป่วยตั้งครรภ์
1. ใช้คำหลักว่า Pregnancy แล้วหาคำขยายภายใต้คำหลัก Pregnancy 2. หากไม่พบให้ใช้คำขยายว่า Complicated by 3. หากไม่พบให้ใช้คำขยายต่อว่า Condition in (ก่อนหา ให้หารหัสของโรคนั้นที่ใช้กับผู้ป่วยทั่วไปก่อน) จะพบรหัสโรค ของผู้ป่วยทั่วไปและมีรหัส O ซึ่งเป็นรหัสใช้กับผู้ป่วยตั้งครรภ์ 4. การให้รหัส ให้ใช้รหัส O (ไม่รวม exclude ที่ต้นบท) เสมอ - หากใช้รหัส O แล้วไม่ครอบคลุมคำวินิจฉัยให้ใช้รหัส O ร่วมกับรหัสอื่น หากเป็นรหัสการวินิจฉัยหลัก ให้รหัส O เป็นรหัสการวินิจฉัย หลักและให้รหัสอื่นเป็นรหัสการวินิจฉัยร่วม และหากเป็นคำ วินิจฉัยประเภทอื่นให้ใช้ทั้ง 2 รหัส

20 การให้รหัสผู้ป่วยตั้งครรภ์
1. ใช้คำหลักว่า Pregnancy แล้วหาคำ ขยายภายใต้คำหลัก Pregnancy 2. หากไม่พบให้ใช้คำขยายว่า Complicated by 3. หากไม่พบให้ใช้คำขยายต่อว่า Condition in (ก่อนหา ให้หารหัสของโรคนั้นที่ใช้กับผู้ป่วยทั่วไป ก่อน) จะพบรหัสโรคของผู้ป่วยทั่วไปและ มีรหัส O ซึ่งเป็นรหัสใช้กับผู้ป่วยตั้งครรภ์ Index

21 ตัวอย่าง Pulmonary TB (A16.2 in pregnancy (Z33)
Index = O98.0

22 O98.0 Tuberculosis complicating pregnancy, childbirth and the puerperium
Tubular A16.2 Tuberculosis of lung, bacteriological and histological examination not done Tuberculosis complicating pregnancy, childbirth and the puerperium O98.0 A16.2 Tuberculosis of lung, bacteriological and histological examination not done O98.0 ไม่มีรายละเอียดว่าเป็น TB ที่ปอด จึงต้องให้รหัส A16.2 ร่วมด้วย

23 ตัวอย่าง Hypertension (I10) in pregnancy (Z33)
Index = O10.0

24 O10.0 มีรายละเอียดครบถ้วนจึงไม่ต้องให้รหัส I10
Tubular O10.0 Pre-existing essential hypertension complicating pregnancy, childbirth and the puerperium Pre-existing essential hypertension complicating pregnancy, childbirth and the puerperium O10.0 O10.0 มีรายละเอียดครบถ้วนจึงไม่ต้องให้รหัส I10

25 ตัวอย่าง Haemorrhoids (I84.9) in pregnancy (Z33)
Index = O22.4

26 O22.4 มีรายละเอียดครบถ้วนจึงไม่ต้องให้รหัส I84.9
Tubular O22.4 Haemorrhoids in pregnancy Haemorrhoids in pregnancy O22.4 O22.4 มีรายละเอียดครบถ้วนจึงไม่ต้องให้รหัส I84.9

27 ตัวอย่าง Internal thombosed hemorrhoids (I84.0) in pregnancy (Z33)
Index = O22.4 = I84.0

28 Tubular O22.4 Haemorrhoids in pregnancy
I84.0 Internal thrombosed haemorrhoids Haemorrhoids in pregnancy O22.4 Internal thrombosed haemorrhoids I84.0 O22.4 ไม่มีรายละเอียดว่าเป็น Internal thrombosed จึงต้องให้รหัส I84.0 ร่วมด้วย

29 การให้รหัสผู้ป่วยคลอด
- รหัสในกลุ่ม O80 – O84 เป็นรหัสสำหรับวิธีคลอด โดยปกติใช้เป็นรหัสการวินิจฉัยร่วม ห้ามใช้เป็นรหัสการวินิจฉัยหลัก นอกจากในกรณีที่ไม่มีรหัสอื่นในหมวดอักษร O ถ้าคลอดแฝดให้รหัส O84.8 แล้วให้รหัสในกลุ่ม O80-O83 เสริมบอกการคลอดของทารกแต่ละคน

30 การให้รหัสผู้ป่วยคลอด
การให้รหัสการวินิจฉัยสำหรับผู้ป่วยที่มาคลอดบุตร ผู้ให้รหัสจำเป็นต้องทราบข้อมูลต่อไปนี้ • วิธีคลอด (mode of delivery) รหัส O80.- O84 • ถ้าคลอดโดยสูติศาสตร์หัตถการ เช่น ผ่าคลอด คลอดด้วยคีม คลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ ข้อบ่งชี้ (indication) คืออะไร (รหัส O O82.-) • ในการรับไว้ครั้งนี้มีภาวะแทรกซ้อนของผู้คลอดหรือไม่อย่างใด รหัส “O” อื่น • ผลของการคลอด (outcome of delivery) ได้ทารกแรกคลอดกี่คน มีชีวิต (livebirth) หรือตายคลอด (stillbirth) รหัส Z37.-

31 การให้รหัสผู้ป่วยคลอด รหัสการคลอดปกติ ทารกเดี่ยว

32 การให้รหัสผู้ป่วยคลอด รหัสการคลอดโดยใช้อุปกรณ์ ทารกเดี่ยว

33 การให้รหัสผู้ป่วยคลอด รหัสการผ่าตัดคลอด ทารกเดี่ยว

34 การให้รหัสผู้ป่วยคลอด รหัสการคลอดโดยมีการช่วยเหลือ ทารกเดี่ยว

35 การให้รหัสผู้ป่วยคลอด
รหัสการคลอดแฝด

36 การให้รหัสผู้ป่วยคลอด รหัสผลการคลอด ใช้คู่กับรหัสการคลอด (O80-O84)

37 การให้รหัสผู้ป่วยคลอด
การเลือกรหัสการวินิจฉัยหลักสำหรับผู้ป่วยที่มาคลอดบุตรให้พิจารณาเรียงตามลำดับดังนี้ 1. รหัสของข้อบ่งชี้ ถ้าทำคลอดโดยสูติศาสตร์หัตถการ ที่เป็นรหัส “O” (ถ้ามี) 2. รหัสของโรคแทรกในการรับไว้ครั้งนี้ ที่เป็นรหัส “O” (ถ้ามี) 3. รหัสของโรคร่วมในการรับไว้ครั้งนี้ ที่เป็นรหัส “O” (ถ้ามี) 4. รหัสวิธีคลอด (O80-O84) ใช้เป็นรหัสการวินิจฉัยหลัก เฉพาะเมื่อไม่มีรหัสในหมวดอักษร “O” อื่นๆ 5. ให้รหัส Z37.- Outcome of delivery ซึ่งแสดงผลของการคลอด ห้ามใช้เป็นรหัสการวินิจฉัยหลัก ถึงแม้แพทย์จะไม่บันทึกผล ของการคลอดใน discharge summary แต่เป็นหน้าที่ของผู้ให้ รหัสที่ต้องหาข้อมูลผลของการคลอดจากส่วนอื่นของเวชระเบียน เช่น บันทึกย่อคลอด,ใบสรุปคลอด เป็นต้น ห้ามให้รหัส O80 – O84 เป็นรหัสการวินิจฉัยหลักเมื่อมีรหัส “O” อื่น

38 รหัสข้อบ่งชี้ การคลอดโดยสูติศาสตร์หัตถการ

39 ข้อบ่งชี้ การคลอดโดยสูติศาสตร์หัตถการ

40 รหัสภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด

41 รหัสโรคร่วมในระยะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด
รหัสโรคร่วมในระยะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด

42 หลักการให้รหัส O32 – O34 หากไม่มีหลักฐานระบุว่ามีสาเหตุที่ทำให้การคลอดติดขัด(obstructed labour) ให้ใช้รหัสในกลุ่ม O32 – O34 O32 Maternal care for known or suspected malpresentation of fetus O33 Maternal care for known or suspected disproportion O34 Maternal care for known or suspected abnormality of pelvic organs

43 หลักการให้รหัส O64 – O66 หากมีหลักฐานระบุว่ามีสาเหตุที่ทำให้การคลอดติดขัด (obstructed labour) ให้ใช้รหัสในกลุ่ม O64 – O66 O64 Obstructed labour due to malposition and malpresentation of fetus O65 Obstructed labour due to maternal pelvic abnormality O66 Other obstructed labour

44 ตัวอย่างการให้รหัส 1. มีข้อบ่งชี้ ถ้าทำคลอดโดยสูติศาสตร์หัตถการ
ตัวอย่าง ผู้ป่วยครรภ์เดี่ยว ครรภ์ที่สอง ปากมดลูกเปิดนาน 90 นาที ยังไม่คลอด แพทย์จึงทำคลอดโดยใช้เครื่องสูญญากาศดูดออก O63.1 Prolonged second stage [of labour] Vacuum extractor delivery, Sigle livebirth O81.4, Z37.0 Vacuum extraction 72.79

45 ตัวอย่างการให้รหัส 1. มีข้อบ่งชี้ ถ้าทำคลอดโดยสูติศาสตร์หัตถการ
ตัวอย่าง ผู้ป่วยครรภ์เดี่ยว ทารกคนแรกคลอดโดยการผ่าตัด มาคลอดครั้งนี้แพทย์จึงนัดมาทำผ่าตัดคลอด Maternal care due to uterine scar from previous surgery O34.2 Delivery by elective caesarean section, Single livebirth O82.0, Z37.0 Caesarean section 74.99

46 ตัวอย่างการให้รหัส 1. มีข้อบ่งชี้ ถ้าทำคลอดโดยสูติศาสตร์หัตถการ
ตัวอย่าง ผู้ป่วยครรภ์แฝด เจ็บครรภ์นาน 8 ชั่วโมง แพทย์วินิจฉัยว่า Cephalopelvic disproportion แพทย์ทำผ่าตัดคลอดฉุกเฉิน ทารกทั้งสองแข็งแรงดี Cephalopelvic disproportion O33.9 Twin pregnancy, Multi delivery, all by caesarean section,, Twins, both liveborn O30.0, O84.2, Z37.2 Low cervical caesarean section 74.1

47 ตัวอย่างการให้รหัส 1. มีข้อบ่งชี้ ถ้าทำคลอดโดยสูติศาสตร์หัตถการ
ตัวอย่าง ผู้ป่วยครรภ์แฝด เจ็บครรภ์นาน 8 ชั่วโมง แพทย์วินิจฉัยว่า Cephalopelvic deformity ทำให้การคลอดติดขัดแพทย์จึงทำผ่าตัดคลอดฉุกเฉิน ทารกทั้งสองแข็งแรงดี Obstructed labour due to deformed pelvis O65.0 Twin pregnancy, Multi delivery, all by caesarean section, Twins, both liveborn O30.0, O84.2 Z37.2 Low cervical caesarean section 74.1

48 ตัวอย่างการให้รหัส 2. มีโรคแทรกซ้อนในการรับไว้ครั้งนี้
ตัวอย่าง ผู้ป่วยครรภ์แฝด คลอดเอง หลังคลอดตกเลือด แพทย์วินิจฉัยว่า Multiple delivery, all spontaneous with postpartum hemorrhage ทารกทั้งสองแข็งแรงดี O84.0 O72.1 Multiple delivery, all spontaneous O30.0, Z37.2 O30.0, O84.0,Z37.2 Twin pregnancy,Twins both liveborn O72.1 Postpartum hemorrhage

49 ตัวอย่างการให้รหัส 3. มีโรคร่วมในการรับไว้ครั้งนี้
ตัวอย่าง ผู้ป่วยครรภ์แฝด คลอดเอง หลังคลอดตกเลือด แพทย์วินิจฉัยว่า Multiple delivery, all spontaneous ทารกทั้งสองแข็งแรงดี O84.0 O30.0 Multiple delivery, all spontaneous O30.0, Z37.2 O84.0,Z37.2 Twin pregnancy,Twins both liveborn

50 ตัวอย่างการให้รหัส 3. มีโรคร่วมในการรับไว้ครั้งนี้
ตัวอย่าง ผู้ป่วยครรภ์แฝด คนแรกคลอดปกติ คนที่สองคลอดโดยใช้เครื่องดูดสูญญากาศทารกทั้งสองแข็งแรงดี O84.8 O30.0 Multiple delivery by combination of methods O30.0, Z37.2 O84.8, O80.0,O81.4,Z37.2 Twin pregnancy,Twins both liveborn O80.0 Spontaneous vertex delivery O81.4 Vacuum extractor delivery

51 ตัวอย่างการให้รหัส 4. ไม่มีรหัส “O” อื่น ในการรับไว้ครั้งนี้
ตัวอย่าง ผู้ป่วยครรภ์เดี่ยวจะเดินทางไปต่างประเทศ จึงขอให้แพทย์ ทำผ่าตัดคลอดก่อนเดินทาง ทารกแข็งแรงดี Delivery by elective caesarean section O82.0 Single live birth Z37.0 Low cervical caesarean section 74.1

52 ตัวอย่างการให้รหัส 4. ไม่มีรหัส “O” อื่น ในการรับไว้ครั้งนี้
ตัวอย่าง ผู้ป่วยครรภ์เดี่ยวคลอดเอง ทารกแข็งแรงดี Spontaneous vertex delivery O80.0 Single live birth Z37.0

53 ต้องให้รหัส Z37.- เสมอ ถึงแม้แพทย์จะไม่ได้สรุปในDischarge summary
ตัวอย่างการให้รหัส ตัวอย่าง ผู้ป่วยครรภ์เดี่ยวคลอดเอง ทารกแข็งแรงดี O80.0 ? NL ND Single live birth Z37.0 NL = Normal labour ต้องให้รหัส Z37.- เสมอ ถึงแม้แพทย์จะไม่ได้สรุปในDischarge summary ND = Normal delivery

54 การให้รหัสผู้ป่วยคลอดนอกโรงพยาบาล
“BBA” ซึ่งย่อมาจาก “birth before arrival” ใช้รหัส Z39.0 เป็นการวินิจฉัยหลักสำหรับการรับผู้ป่วยไว้ดูแลหลังคลอด ไม่ว่าผู้ป่วยจะคลอดที่บ้าน, คลอดในยานพาหนะ หรือคลอดที่สถานพยาบาลอื่น โดยจะต้องไม่มีการทำหัตถการใดๆ ที่เกี่ยวกับการคลอดในระหว่างที่รับไว้ในสถานพยาบาลครั้งนี้ เช่น การเย็บแผลฝีเย็บ การตัดสายสะดือ ผู้ป่วยได้รับเพียงการดูแลหลังคลอดหรือหลังผ่าตัดคลอดตามปกติ และไม่มีภาวะแทรกซ้อนใดๆ ในระยะหลังคลอด แต่ถ้ามีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นไม่ว่าจะก่อนหรือระหว่างที่รับผู้ป่วยไว้ในสถานพยาบาล ให้ใช้รหัสของภาวะแทรกซ้อนนั้นเป็นรหัสการวินิจฉัยหลัก และใช้รหัส Z39.0 เป็นรหัสการวินิจฉัยร่วม

55 การให้รหัสผู้ป่วยคลอดนอกโรงพยาบาล
ตัวอย่าง ผู้ป่วยครรภ์เดี่ยวคลอดเองก่อนมาถึงโรงพยาบาล แพทย์รับไว้เพื่อดูแลหลังคลอด Care and examination immediately after delivery Z39.0

56 การให้รหัสผู้ป่วยคลอดนอกโรงพยาบาล
ตัวอย่าง ผู้ป่วยครรภ์เดี่ยวคลอดเองก่อนมาถึงโรงพยาบาล แพทย์รับไว้เพื่อดูแลหลังคลอด ขณะรักษาเกิดแผลติดเชื้อที่อุ้งเชิงกราน Care and examination immediately after delivery Z39.0 O86.1 Z39.0 Cervicitis following delivery O86.1 หากมีภาวะแทรกซ้อน ให้รหัสภาวะแทรกซ้อนเป็นรหัสการวินิจฉัยหลัก

57 ตัวอย่างการให้รหัส Z33 ผู้ป่วยที่รับไว้ในโรงพยาบาลหากภาวะนั้นไม่ได้รับการดูแลทางสูติกรรม หรือเป็นผู้ป่วยตั้งครรภ์แต่รับไว้เนื่องจากภาวะอื่นที่ไม่ได้แทรกซ้อนต่อ การตั้งครรภ์ ให้ใช้รหัสของภาวะนั้นเป็นการวินิจฉัยหลัก และรหัส Z33 Pregnant state, incidental เป็นการวินิจฉัยร่วม ตัวอย่าง ผู้ป่วยตั้งครรภ์ถูกประตูหนีบมือที่บ้าน มี fracture of first metacarpal bone S62.20 Closed fracture of first metacarpal bone Z33 Pregnancy state Caught, crushed, jammed or pinched in or between objects at home, unspecified activity W23.09

58 ตัวอย่างการให้รหัสผู้ป่วยเอดส์
ตัวอย่าง HIV disease resulting in cytomegaloviral disease with pregnancy B20.2 HIV disease resulting in cytomegaloviral disease Z33 Pregnancy state

59 ตัวอย่างการให้รหัสผู้ป่วยเอดส์
ตัวอย่าง HIV disease resulting in cytomegaloviral disease with pregnancy O98.7 Human immunodeficiency [HIV] disease complicating pregnancy, childbirth and the puerperium (Conditions in B20 – B24) Human immunodeficiency [HIV] disease complicating pregnancy O98.7 B25.9 Cytomegaloviral disease

60 ตัวอย่างการให้รหัส Z33 ตัวอย่าง ผู้ป่วยตั้งครรภ์ มีอาการท้องเสียรุนแรง
ผู้ป่วยที่รับไว้ในโรงพยาบาลหากภาวะนั้นไม่ได้รับการดูแลทางสูติกรรม หรือเป็นผู้ป่วยตั้งครรภ์แต่รับไว้เนื่องจากภาวะอื่นที่ไม่ได้แทรกซ้อนต่อ การตั้งครรภ์ ให้ใช้รหัสของภาวะนั้นเป็นการวินิจฉัยหลัก และรหัส Z33 Pregnant state, incidental เป็นการวินิจฉัยร่วม ตัวอย่าง ผู้ป่วยตั้งครรภ์ มีอาการท้องเสียรุนแรง A09 Acute diarrhea Z33 Pregnancy state

61 ตัวอย่างการ(ไม่)ให้รหัส Z33
ผู้ป่วยที่รับไว้ในโรงพยาบาลหากภาวะนั้น ได้รับการดูแลทางสูติกรรม หรือเป็นโรคที่มีผลต่อการตั้งครรภ์ ให้ใช้รหัส O เป็นรหัสการวินิจฉัยหลัก และรหัสของโรคนั้นเป็นการวินิจฉัยร่วม ตัวอย่าง ผู้ป่วยตั้งครรภ์ มีอาการท้องเสียรุนแรง และมีผลต่อการตั้งครรภ์ O98.8 Acute diarrhea complicating in pregnancy A09


ดาวน์โหลด ppt Pregnancy, childbirth and the puerperium (O00-O99)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google