ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้พลศึกษา
สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
2
การวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้พลศึกษา
โดย อ. สดสี สุทธิศักดิ์ ครูชำนาญการพิเศษ สพล.ชัยภูมิ นิสิตปริญญาเอก สาขาวิจัยและประเมินทางการศึกษา ม.เกษตรศาสตร์ สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
3
ช่วงที่ 1 สร้างความเข้าใจ /ข้อตกลง /ปฐมนิเทศ
สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
4
ขอบข่ายเนื้อหาโมดูล มี 5 คำ
การวิจัย ชั้นเรียน พัฒนา การเรียนรู้ พลศึกษา สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
5
คำทั้งหมด 5 คำ การวิจัย คืออะไร ระเบียบวิธีอะไรบ้าง ?
ชั้นเรียน มีองค์ประกอบอะไรบ้าง ? พัฒนา หมายถึงอะไร ดู-วัดอย่างไร? การเรียนรู้ คืออะไร จัดอย่างไร ? ผู้มีความรู้มีพฤติกรรมอย่างไร ? พลศึกษา คืออะไร เกี่ยวกับอะไร เรียน-สอน-วัดอย่างไร? สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
6
การวิจัยในชั้นเรียน นำคำมารวมกัน 2 คำ คือ การวิจัย + ชั้นเรียน
นำคำมารวมกัน 2 คำ คือ การวิจัย + ชั้นเรียน การวิจัย คืออะไร ระเบียบวิธีอะไรบ้าง ? ชั้นเรียน มีองค์ประกอบอะไรบ้าง ? สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
7
ดังนั้น การวิจัยในชั้นเรียน
จึงเป็น “การทำวิจัยที่มีนักเรียนในชั้นเรียนเป็นประชากร มีเป้าหมายเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนานักเรียนในวิชาที่สอน โดยใช้กระบวนการวิจัยเป็นเครื่องมือ” สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
8
พัฒนาการเรียนรู้พลศึกษา
คำมารวมกัน 3 คำ คือ พัฒนา + การเรียนรู้ + พลศึกษา พัฒนา คืออะไร วัด(การพัฒนา)อย่างไร? การเรียนรู้ คืออะไร จัดอย่างอะไร มีกี่วิธี วัดผลการเรียนรู้อย่างไร ใช้เครื่องมืออะไรวัด? พลศึกษา คืออะไร สอนอย่างไร วัดอะไร อย่างไร? สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
9
ทบทวนความรู้เดิม/พื้นฐานความรู้ ก่อนการบูรณาการความรู้
ช่วงที่ 2 ทบทวนความรู้เดิม/พื้นฐานความรู้ ก่อนการบูรณาการความรู้ สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
10
มโนทัศน์เกี่ยวกับการวิจัย
สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
11
การวิจัย (RESEARCH) สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
12
การวิจัย (Research) Re = ซ้ำ ๆ Search = ค้นคว้า
สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
13
การวิจัย (Research) R = Recruitment & Relationship คือ ฝึกตนให้มีความรู้ E = Education & Efficiency คือ การศึกษา /มีความรู้ สมรรถภาพสูง S = Sciences & Stimulation คือ ศาสตร์ที่มีกระบวนการค้นคว้าหาความรู้ที่เชื่อถือได้ สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
14
การวิจัย (Research) E = Evaluation & Environment คือ รู้จักประเมินประโยชน์ / ควรทำหรือไม่ รู้การใช้เครื่องมือ A = Aim & Attitude คือ จุดมุ่งหมายแน่ชัด มีทัศนคติที่ดี R = Result คือ ยอมรับผลที่ได้จากการค้นคว้าอย่างมีระบบ สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
15
การวิจัย (Research) C = Curiosity คือ ผู้วิจัยต้องมีความอยากรู้อยากเห็น H = Horizon คือ ผลการวิจัยเหมือนแสงสว่าง ทำให้ทราบสิ่งที่สงสัย สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
16
การวิจัย (Research) สรุป
การวิจัย หมายถึง การศึกษา ค้นคว้า หาความรู้โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือ ซึ่งได้รับการยอมรับว่าเป็นวิธีการที่เชื่อถือได้มากที่สุด สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
17
การวิจัยที่ทำกันในปัจจุบัน มีวิธีการทำแบบใดบ้าง
(มีกี่ประเภท) สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
18
ประเภทของงานวิจัย การวิจัยทดลอง การวิจัยกึ่งทดลอง การวิจัยสำรวจ*
การวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยบริสุทธิ์ / สร้างองค์ความรู้ใหม่ การวิจัยประยุกต์ สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
19
ประเภทของงานวิจัย การวิจัยพัฒนา (R & D) การวิจัยตัดขวาง
การวิจัยระยะยาว* วิจัยเชิงชาติพรรณวรรณา* วิจัยนโยบาย* กรณีศึกษา / การศึกษาเฉพาะกรณี (Case study) การวิจัยอนาคต (EDFR)* สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
20
ประเภทของงานวิจัย การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์*
การวิจัยปฏิบัติการ(Action Research) การวิจัยในชั้นเรียน(CAR) การวิจัยแบบมีส่วนร่วม(PAR) การอภิมานงานวิจัย(Meta-analysis)* การวิจัยประเมิน การวิจัยแบบ R2R* สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
21
ชั้นเรียน (Classroom)
สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
22
ชั้นเรียน ชั้นเรียนคืออะไร
คือ ห้องจัดกิจกรรมการเรียนรู้/สถานที่เรียนรู้ มีกิจกรรมอะไรบ้าง (นักเรียน) - เรียน (ครู) สอน สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
23
ชั้นเรียนมีองค์ประกอบอะไรบ้าง?
1. นักเรียน (จำนวน 30 คน เก่ง /อ่อน บกพร่อง ?) 2. ครู ( 1 คน สมรรถนะ / ถนัด /ความสามารถ ?) * มีแผนการสอน 3. สถานที่ (ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ/lapฯลฯ ) * วิชาพลศึกษา สถานที่เรียน คือ สนาม โรงฝึก ฯลฯ 4. อุปกรณ์การเรียน (สื่อ เอกสาร เครื่องมือ ฯลฯ) * วิชาพลศึกษา เช่น ลูกบอล ไม้แบดฯ เบาะยิมส์ ฯลฯ สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
24
(Classroom Action Research)
สรุป การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research) “CAR” สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
25
ความรู้อะไรในชั้นเรียนที่ครูต้องค้นหา?
คือ “การใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือ การค้นคว้าหาความรู้ ซ้ำๆ เกี่ยวกับ การเรียนรู้/การพัฒนาผู้เรียนในชั้นเรียน หรือในรายวิชาที่สอน โดยมีเป้าหมายเพื่อ แก้ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียน” ความรู้อะไรในชั้นเรียนที่ครูต้องค้นหา? สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
26
ความรู้อะไรในชั้นเรียนที่ครูต้องค้นหา?
ความรู้เกี่ยวกับการแก้ปัญหา วิธีการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียน รายงานการวิจัยในชั้นเรียนก็คือการรายงานผลการแก้ปัญหาหรือรายงานผลการพัฒนาผู้เรียน เพราะเด็กแต่ละคนมีความสามารถในการเรียนรู้ และมีปัญหาแตกต่างกัน ครูมืออาชีพต้องสามารถแก้ปัญหาและจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนได้สำเร็จ สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
27
ข้อสังเกต การวิจัยในชั้นเรียน
ข้อสังเกต การวิจัยในชั้นเรียน ต้องทำ “ซ้ำ ๆ” (เหมือนเกลียวลวด) ต้องเป็นการพัฒนานักเรียน/การเรียนรู้ ครูเป็นนักวิจัยด้วยตนเอง นักเรียนเป็นประชากรเป้าหมาย สถานที่ทำวิจัย(Aria) คือ ห้องเรียน สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
28
ประเด็นที่ต้องเคลียร์
ถ้าไม่ใช่การเรียนการสอน เช่น การบริหารงานของ ผอ. เป็นการวิจัยในชั้นเรียนหรือไม่? ถ้าครูแนะแนวทำวิจัยเกี่ยวกับการบริการของงานแนะแนวเป็นการวิจัยในชั้นเรียนหรือไม่? สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
29
นิยาม-ความหมายของ การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน คือ การศึกษาค้นคว้าของครู โดยมีเป้าหมายเพื่อแก้ปัญหา/พัฒนา การเรียนรู้ของนักเรียน โดยกระทำอย่างมีระบบ [ใช้ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology)ซึ่งมีวิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือในการหาความรู้] * จัดอยู่ใน Action Research สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
30
มโนทัศน์พื้นฐานของ การวิจัยปฏิบัติการ
เป็นการเชื่อมโยงระหว่างทฤษฎี กับปฏิบัติ ผู้ปฏิบัติงานเป็น นักวิจัย วัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาหรือปรับปรุง เน้นการมีส่วนร่วม (participation สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
31
เป็นกระบวนการแบบวิวัฒน์ (evolving) คือ ค่อยๆพัฒนาให้ดีขึ้น(วงจร/เกลียว/lope) ด้วยวงจร PDCA
จุดเด่น คือผู้ปฏิบัติ(ครู)เป็นนักวิจัย เมื่อวิจัยแล้วจะอยากทำให้ดีขึ้นเรื่อยๆ โดยหลอมรวมการวิจัยกับงานที่ปฏิบัติ (การเรียนการสอน)เป็นเนื้อเดียวกัน สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
32
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการวิจัยปฏิบัติการ และการวิจัยในชั้นเรียน
ต้องทำ “ซ้ำ ๆ” (เหมือนเกลียวขดลวด) D1 C1 A1 P1 D2 C2 A2 P2 สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
33
สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
34
สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
35
รูปแบบของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
มี 4 รูปแบบ รูปแบบการวิจัยปฏิบัติการแบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการ 1.1 แบบเป็นทางการ 1.2 แบบไม่เป็นทางการ รูปแบบการวิจัยปฏิบัติการตามแนวคิดของ Kemmis และ Zuber-Skerritt 2.1 การวิจัยปฏิบัติการเชิงเทคนิค 2.2 การวิจัยปฏิบัติการเชิงปฏิบัติจริง 2.3 การวิจัยปฏิบัติการเชิงวิพากษ์/อิสระ สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
36
3. รูปแบบการวิจัยปฏิบัติการตามแนวคิดของ Calhoun 3
สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
37
เมื่อการวิจัยในชั้นเรียน เป็นการวิจัยปฏิบัติการ ดังนั้นการวิจัยในชั้นเรียนจึงมีลักษณะดังนี้
สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
38
ลักษณะการวิจัยในชั้นเรียน
เป็นการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาการเรียนการสอน เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนหรือการสอนให้ดียิ่งขึ้น เป็นการทำวิจัยขณะสอน(สอนไปทำวิจัยไปพร้อม ๆ กัน) สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
39
ลักษณะการวิจัยในชั้นเรียน
ทำวิจัยในห้องเรียน(สถานที่ทำวิจัย คือ ห้องเรียน) และวิจัยในรายวิชาที่สอน) ประชากร คือ นักเรียนที่สอน เป้าหมาย คือ พัฒนานักเรียน สามารถปรับแก้ได้ ถ้าแก้ปัญหาการเรียนรู้ยังไม่ได้ งานวิจัยก็ยังไม่จบ สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
40
ลักษณะการวิจัยในชั้นเรียน
ไม่เน้นการใช้สถิติชั้นสูง แต่เน้นการค้นหาความจริง หรือข้อมูลชนิดพรรณนา (อธิบาย/บรรยาย) /ข้อมูลเชิงคุณภาพ *ฉะนั้นครูที่ไม่เก่งคณิตศาสตร์/ไม่รู้สถิติชั้นสูงก็ทำวิจัยในชั้นเรียนได้ สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
41
ข้อพึงระวังสำหรับการทำวิจัยในชั้นเรียน
ครูนักวิจัยจะไม่ทำในสิ่งต่อไปนี้ ครูจะไม่ศึกษานักเรียนเป็นร้อย เพื่อทำการทดลอง โดยการสร้างกลุ่มตัวอย่างที่มีทั้งกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง เพื่อนำผลมาวิเคราะห์ทางสถิติ ครูจะไม่เริ่มต้นด้วยการทดสอบสมมติฐาน แต่จะเริ่มต้นจากความสงสัย เฝ้าติดตามด้วยความตั้งใจ ตรวจสอบเพื่อหาคำตอบว่าเกิดอะไรขึ้น เกิดอย่างไร สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
42
ครูจะไม่กลัวว่าผลการวิจัยจะล้มเหลวหรือไม่ ไม่ว่าผลจะเป็นอย่างไรก็ทำให้ครูเกิดความรู้ได้ทั้งนั้น และครูจะใช้ผลการวิจัยเป็นแนวทางในการปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น ครูจะไม่กลัวว่าสิ่งที่สังเกตได้หรือผลการวิจัยจะเหมือนหรือแตกต่างจากตำรา ทฤษฎี รูปแบบทางวิชาการ ดังนั้นลีลาการเขียน สำนวนจึงง่ายๆ อ่านแล้วเข้าใจและเกิดการสร้างสรรค์ทางปัญญา สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
43
ครูจะไม่เป็นคนบุคลิกสองประการนี้ คือ
- นักประพันธ์ ที่เขียนให้คนอ่านเคลิบเคลิ้ม หลงใหล - นักตรวจสอบ คือ หาคนเก่ง คนอ่อน แต่ครูจะนำเสนอสิ่งที่สังเกตได้และสะท้อนสิ่งที่มีความหมาย หรือสิ่งที่มีคุณค่า สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
44
ข้อคิดสู่การเป็นครูนักวิจัย
1.ครูหาวิธีแก้ปัญหาหรือพัฒนานักเรียน ได้ผลสำเร็จ /ดี 2. เมื่อนำไปใช้กับนักเรียนกลุ่มอื่นหรือวิชาอื่น หรือปีอื่น ฯลฯ ได้ผลสำเร็จเช่นเดิม 3. เกิดการยอมรับวิธีแก้ปัญหานั้นกว้างขวาง แพร่หลาย เกิดเป็นทฤษฎี สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
45
คำถามเตือนใจครู ทำไมครูต้องทำวิจัย? จำเป็นหรือไม่ที่ครูต้องทำวิจัย?
**ครูที่ทำวิจัยไม่ต้องห่วง หรือวิตกกังวลว่าจะไม่มีเวลาทำผลงานเพื่อเลื่อนตำแหน่ง เพราะสุดท้ายของการวิจัยที่ครูทำจะเป็นผลงานของครูที่สามารถนำไปขอเลื่อนตำแหน่งได้อย่างแน่นอน** สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
46
เมื่อครูจำเป็นต้องทำวิจัย ครูพลศึกษาจะทำวิจัยเรื่องอะไร
(พรบ. มาตรา ?) ครูพลศึกษาจะทำวิจัยเรื่องอะไร สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
47
ปัญหาหนักอกครู คิดชื่อเรื่องวิจัยไม่ออก
อยากทำวิจัยแต่ไม่รู้จะเริ่มต้นทำวิจัยอย่างไร ไม่รู้จักขั้นตอน /ส่วนต่าง ๆ ในงานวิจัย เขียนไม่เป็น ไม่รู้จะเขียนอย่างไร ไม่รู้จะอธิบายว่าอย่างไร บทที่ 2 จะไปค้นจากที่ใด สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
48
การวิจัยในชั้นเรียนทางพลศึกษา
หัวข้องานวิจัยได้มาไหน ปัญหาในห้องเรียน !!! ประสบการณ์ ความรู้ ความชำนาญ ทักษะ ฯลฯ ของครู ความถนัด ความสนใจ ฯลฯ ที่มีในตัวครู ความอยากรู้อยากเห็นของครู จากผู้เชี่ยวชาญ สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
49
โดยทุกประเด็นต้องทำให้ นักเรียนเกิดการพัฒนา การเรียนรู้
อย่าลืม ! จุดเน้น โดยทุกประเด็นต้องทำให้ นักเรียนเกิดการพัฒนา การเรียนรู้ สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
50
การวิจัยในชั้นเรียนทางพลศึกษา
ตัวอย่าง แผนการสอน (มีประสิทธิภาพ?) สื่อการสอน / แบบทดสอบ CAI สิ่งประดิษฐ์ เอกสารประกอบการสอน ฯลฯ มีประสิทธิภาพ? กิจกรรม /โครงการ ช่วยพัฒนานักเรียน? สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
51
ใช้กรณีศึกษา แก้ไขปัญหาแล้วผล?
-นักเรียนอ้วนเรียนพลศึกษาไม่ได้ -เจตคติไม่ดีต่อวิชาพลศึกษา -เด็กความสามารถสูงพิเศษ -เด็กบกพร่องทางกาย/สติปัญญา ฯลฯ นำทฤษฎีใหม่ ๆ มาใช้เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
52
ทฤษฎีการเรียนรู้ใหม่ ๆ เพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน?
ทฤษฎีการเรียนรู้ใหม่ ๆ เพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน? พัฒนาทักษะทางพลศึกษา /สร้างแบบฝึกใหม่ ๆ ใช้ได้ผล? สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
53
“ไม่ยากค่ะ เริ่มต้นถูกทำวิจัยสำเร็จแน่”
เริ่มต้นการทำวิจัย “ไม่ยากค่ะ เริ่มต้นถูกทำวิจัยสำเร็จแน่” สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
54
ขั้นตอนการวิจัย (กระบวนการวิจัย)
วิเคราะห์ปัญหา ( การเรียนของนักเรียน การสอนของครู) หาแนวทางแก้ปัญหา (ประเด็น/ปัญหาวิจัย) ศึกษารายละเอียดขั้นตอนการแก้ปัญหา (ตรวจเอกสารที่เกี่ยวข้อง) กำหนดกรอบแนวคิดการวิจัย (ระบุทฤษฎี /นวัตกรรมที่จะใช้แก้ปัญหา) ตั้งชื่อเรื่อง (topic) สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
55
เขียนเค้าโครง (โครงร่างการวิจัย/Proposal/งานที่ต้องทำ/บทที่ 1-3 )
ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน (สร้างเครื่องมือ /ติดต่อประสานงาน /หาคุณภาพ) เก็บรวบรวมข้อมูล /ลงภาคสนาม วิเคราะห์ข้อมูล(เลือกใช้สถิติที่เหมาะสม) สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
56
ขั้นตอนการวิจัย สรุปผลการวิจัย (บทที่ 4-5)
เขียนรายงานการวิจัย (รูปเล่ม) เผยแพร่ผลการวิจัย (ตีพิมพ์บทความ) สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
57
การวิจัยในชั้นเรียนเน้นการปฏิบัติงาน (การวิจัย) ตามขั้นตอนของ
วงจรเดรมมิ่ง (PDCA) คือ - plan = แผนการสอน - do = ปฏิบัติการสอน - check = ตรวจสอบ/ประเมินผลการสอน - action = นำผลไปปรับปรุงในรอบต่อไป สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
58
อบรมเชิงปฏิบัติการ (workshop) /ฝึกปฏิบัติ
ช่วงที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ (workshop) /ฝึกปฏิบัติ Workshop 1 สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
59
1. กำหนดประเด็นการวิจัย
1.1 กำหนดประเด็นการวิจัย ซึ่งควรเริ่มจาก การวิเคราะห์ปัญหา และหาแนวทางแก้ปัญหา โดยมีหลักการดังนี้ สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
60
การเลือกปัญหาที่จะทำวิจัย
1. เป็นปัญหาที่มีอยู่จริง ( Exist ) 2. ยังไม่มีคำตอบแน่ชัด 3. ปัญหานั้น แก้ไขได้ด้วยวิธีวิจัย (ไม่ใช่ปัญหาโลกแตก) 4. เป็นปัญหาสำคัญของหน่วยงาน ชุมชน 5. เป็นปัญหาที่มีผลกระทบสูง สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
61
การเลือกปัญหาที่จะทำวิจัย
6. คำนึงถึงทรัพยากรที่มีอยู่ - บุคลากร (ความรู้ ประสบการณ์) - เงิน วัสดุ อุปกรณ์ - เวลา - เนื้อหาที่จะวิจัย (ไม่ยาวนานเกินไป) 7. เป็นปัญหาที่สร้างสรรค์ไม่มีผลกระทบทางลบ สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
62
ผู้เข้าอบรมช่วยกันบอกปัญหาที่พบในชั้นเรียนพลศึกษา
สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
63
วิเคราะห์สาเหตุ /หากิจกรรม-นวัตกรรมมาแก้ไข
ปัญหา สาเหตุ กิจกรรม / นวัตกรรม 1. 2. สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
64
วิเคราะห์สาเหตุ /หากิจกรรม-นวัตกรรมมาแก้ไข
ปัญหา สาเหตุ กิจกรรม / นวัตกรรม เครื่องมือวัด / เก็บข้อมูล 1. 2. สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
65
วิเคราะห์สาเหตุ /หากิจกรรม-นวัตกรรมมาแก้ไข
ปัญหา สาเหตุ กิจกรรม / นวัตกรรม เครื่องมือวัด / เก็บข้อมูล 1. นักเรียนไม่สนใจการเรียน 1. วิธีสอนของครูน่าเบื่อ สร้างสื่อช่วยสอน -สื่อ -แบบวัดความรู้ -แบบสอบถาม 2. มีปัญหาทางบ้าน - 3. สุขภาพ (สมาธิสั้น) กิจกรรมพัฒนาสมาธิ -แบบวัดพัฒนาการ -แบบสังเกตพฤติกรรม 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ (ตกมาก) 1 2 สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
66
เลือกประเด็นการวิจัยจาก สาเหตุที่ 1 กิจกรรมที่ 1 สร้างสื่อช่วยสอน
การสร้างสื่อมัลติมิเดียช่วยสอนกรีฑาชั้น ม.1 (โรงเรียน ) การพัฒนาหนังสืออิเลคทรอนิคส์ วิชา สุขศึกษา ชั้น ม.1 (โรงเรียน ) การสร้างชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่อง.....สำหรับ นร.ชั้น ม.1 (โรงเรียน ) การสร้างบทเรียนสำเร็จรูปวิชาภาษาอังกฤษ ชั้น ม.1 (โรงเรียน......) สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
67
1.2 กำหนดโจทย์วิจัย /คำถามวิจัย
โดยมีหลักการดังนี้ นำชื่อประเด็นการวิจัยมาตั้งเป็นปัญหาวิจัย เขียนให้สอดคล้องกับประเด็น/Topic เขียนเป็นประโยคคำถาม วิธีเขียนต้องเริ่มต้นด้วยประชากร(ประธาน) ต่อด้วยมี (กริยา) ตามด้วย สิ่งหรือปัญหา/ตัวแปรที่วิจัย(กรรม) สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
68
ตั้งคำถามวิจัย / ตั้งโจทย์วิจัย
เขียนเป็นรูปสมการได้ดังนี้ ประธาน กริยา + กรรม ? (ประชากร) (ปัญหา/ตัวแปร) สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
69
ตัวอย่างโจทย์วิจัย/คำถามวิจัย
1. การฝึกด้วยตาราง 9 ช่อง ช่วยให้นักเรียน ม.3 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพลศึกษาสูงขึ้น? 2. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการฝึกด้วยตาราง 9 ช่อง ระดับใด? ชื่อเรื่องวิจัย ผลของการฝึกด้วยตาราง 9 ช่อง ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพลศึกษาของนักเรียนชั้น ม.3 โรงเรียนบ้านนา จังหวัดนครนายก สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
70
ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง - ทฤษฎี - หลักการ - งานวิจัย
workshop 2 ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง - ทฤษฎี - หลักการ - งานวิจัย สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
71
จาก workshop 2 ผู้เข้าอบรมจะต้องศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องอะไรบ้าง
ให้ผู้เข้าอบรมช่วยกันคิด สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
72
ผู้วิจัยทำการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
73
2. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
(การทบทวนเอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง) เมื่อผู้วิจัยได้ประเด็นวิจัย แล้วขั้นต่อไปคือการศึกษาค้นคว้าแนวคิดและทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องจาก ตำรา เอกสารทางวิชาการ บทความ หนังสือ วารสารรายงานประจำปี แผนพัฒนา นโยบาย ประกาศ กฎกระทรวง กฤษฎีกา รวมถึงรายงานผลการวิจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ โดยคำนึงว่าควรเป็นข้อมูลที่ไม่เก่าเกินไป (ภายใน 3 ปี ไม่ควรเกิน 5 ปี) สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
74
การทบทวนเอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ข้อคิดในการทบทวนเอกสาร คือ 1. การทำวิจัยทุกเรื่องต้องมีการศึกษาเอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปใช้เป็นกรอบในการทำวิจัยในเรื่องนั้น ๆ 2. ผู้วิจัยควรใช้เวลาในการศึกษา ทบทวนเอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้น ๆ ประมาณ 1 ใน 3 ของเวลาที่ใช้ทำวิจัยทั้งเรื่อง สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
75
หลักปฏิบัติในการทบทวนเอกสาร (4 ประการ)
หลักปฏิบัติในการทบทวนเอกสาร (4 ประการ) 1. กำหนดเนื้อหาที่จะตรวจสอบไว้ให้ครบถ้วน 2. ค้นหาแล่งข้อมูลที่ใช้ตรวจสอบหรือแหล่งที่ จะมีข้อมูลให้ตรวจสอบ 3. ศึกษาให้เกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและ บันทึกข้อมูล โดยต้องเขียนไว้ในเค้าโครงการวิจัย (Research Proposal) และรายงานผลการวิจัย (Research Report) สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
76
4. ขณะศึกษาเอกสาร/ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยควรบันทึกข้อมูลไว้ในกระดาษบันทึก ขนาด 3 X 5 นิ้ว หรือ 4 X 6 นิ้ว หลังจากนั้นจัดให้เป็นหมวดหมู่ แล้วทำการสรุปและเรียบเรียงเป็นรายงานผลการศึกษาค้นคว้า สำหรับเป็นแนวทางในการดำเนินการวิจัยใน 2 ส่วน คือ การเขียนเค้าโครงการวิจัยและรายงานผลการวิจัย สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
77
ประโยชน์ของการตรวจสอบเอกสาร (มี 6 ประการ)
ประโยชน์ของการตรวจสอบเอกสาร (มี 6 ประการ) 1. ช่วยให้นักวิจัยมีความเข้าใจทฤษฎี แนวความคิดของนักวิชาการที่ศึกษาค้นคว้าไว้แล้วในอดีต ซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องที่วิจัย ทำให้นักวิจัยมีความรู้ เข้าใจและเกิดความมั่นใจในการทำวิจัย 2. ช่วยให้นักวิจัยได้แนวคิด ยุทธวิธีและแนวทางในการทำวิจัย 3. ช่วยป้องกันไม่ให้การทำวิจัยที่กำลังจะทำไปซ้ำซ้อนกับผลการวิจัยของนักวิจัยคนอื่น ๆ ที่ทำวิจัยไว้ก่อนแล้ว สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
78
4. ช่วยให้ทราบขอบเขตของผลงานวิจัยที่ผ่านมาและเกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะวิจัย ว่า วงวิชาการมีการศึกษากว้างขวางเกี่ยวกับเรื่องที่วิจัยนั้นมากน้อยหรือกว้างขวางเพียงใด จุดหรือประเด็นใดที่ยังไม่มีคนทำการศึกษาค้นคว้า และผลการวิจัยที่ทำแล้วเป็นเช่นไร นักวิจัยจะได้ขอบเขตในการทำวิจัยของตน พร้อมทั้งเลือกตัวแปรที่จะศึกษา ออกแบบการวิจัย สร้างเครื่องมือวิเคราะห์ข้อมูล 5. นักวิจัยได้แนวทางในการกำหนดสมมติฐานการวิจัย ผลการศึกษาค้นคว้าจะเป็นหลักฐานสำคัญที่จะนำมาประกอบ เหตุผลในการตั้งสมมติฐานและนำมาประกอบเหตุผลในการอภิปรายผลการวิจัย สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
79
6. เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพของเรื่องที่จะวิจัย เพราะในการศึกษาเอกสารที่ เกี่ยวข้องกับการวิจัยอย่างกว้างขวางจริงจังจะช่วยให้เข้าใจในเรื่องที่จะศึกษาอย่างลุ่มลึก ในการศึกษาผลงานวิจัยต่าง ๆ ทำการพิจารณาถึงจุดอ่อนและจุดดีของแต่ละเรื่อง แล้วหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดจุดอ่อนและเสริมสร้างจุดดีเหล่านั้นให้เกิดขึ้นในการวิจัยของตน สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
80
3. กำหนดกรอบแนวคิดการวิจัย
กรอบ (Frameworks) คือ ขอบเขตการทำงานแต่ละด้านที่มีความสัมพันธ์กัน ได้แก่ - ขอบเขตด้านประชากร - ขอบเขตด้านตัวแปร(ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม) - แนวคิด / ทฤษฎี ที่นำมาใช้เป็นหลักในการ วิจัย - นวัตกรรม / วิธีการ / เครื่องมือ ฯลฯ สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
81
ส่วนใหญ่แสดงความสัมพันธ์ในรูปของแผนผัง
กรอบการวิจัยได้มาจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง(Reviewing literature and related research) ซึ่งเป็นองค์ประกอบของกรอบแนวคิดการวิจัย แต่จะประกอบด้วยอะไรบ้างนั้นก็ขึ้นอยู่กับลักษณะของเรื่องที่ทำวิจัย กรอบการวิจัยไม่ใช่ขั้นตอนการทำวิจัย ควรเป็นทฤษฎีที่นำมาใช้หาความสัมพันธ์ของเป็นตัวแปรทั้งตัวแปรอิสระและตัวแปรตามในงานวิจัย สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
82
ตัวอย่างกรอบแนวคิดการวิจัย
ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม การฝึกด้วยตาราง 9 ช่อง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาพลศึกษา สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
83
4. ออกแบบการวิจัย เป็นการกำหนดกรอบแนวทางการทำวิจัยไว้ล่วงหน้า
ประกอบด้วย 3 ส่วน 1. แผนดำเนินการ (Plan) คือ ขั้นตอนการวิจัย 2. โครงสร้าง(Structure) คือ กรอบการวิจัย / ความสัมพันธ์ของ ตัวแปร 3. ยุทธวิธี (Strategies) คือ ระเบียบวิธีในการวิจัย ใช้เป็นเข็มทิศในการทำวิจัย เปรียบเสมือนพิมพ์เขียวแบบแปลนบ้าน สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
84
จุดมุ่งหมายของการออกแบบการวิจัย
เพื่อให้สามารถตอบคำถามการวิจัยได้ถูกต้อง ผลการวิจัยมีความตรง (Validity) เชื่อถือได้ (Reliability) สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
85
องค์ประกอบในการออกแบบวิจัย
1. การออกแบบแบบแผนการวิจัย (8 แบบ) 2. การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง 3. การออกแบบการวัดตัวแปร (4 ระดับ) 4. การออกแบบเครื่องมือเก็บข้อมูล 5. การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล (เลือกใช้สถิติ) สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
86
5. ตั้งชื่อเรื่องวิจัย หลังจากกำหนดกรอบการวิจัยและออกแบบการวิจัยได้แล้ว จึงตัดสินใจตั้งชื่อเรื่อง โดยให้สอดคล้องกับกรอบและแบบวิจัย (ประเภทการวิจัย)ที่ใช้ สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
87
หลักการเขียนชื่อโครงการวิจัย
1. เขียนให้สั้น กะทัดรัด ชัดเจน เข้าใจง่ายและได้ใจความ 2. เขียนให้สื่อความหมาย 3. เขียนให้น่าสนใจและทันสมัย 4. ใช้ภาษาหนังสือ 5. ความยาวประมาณ 2 บรรทัด สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
88
วิธีเขียนชื่อโครงการวิจัยเชิงปริมาณ วิธีเขียนชื่อชุดโครงการวิจัย
V P A T วิธีเขียนชื่อชุดโครงการวิจัย V P A G สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
89
P = population / ประชากร A = area / พื้นที่ / สถานที่
V = variance / ตัวแปร P = population / ประชากร A = area / พื้นที่ / สถานที่ T = time / เวลา / ปี G = goal / เป้าหมาย สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
90
ตัวอย่างชื่อเรื่องวิจัย
ชื่อเรื่อง : การฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ด้วยวิธีสอนแบบ 4 MAT ของนักเรียนชั้น ม.3 โรงเรียนบ้านนา เขตการศึกษา 1 จังหวัดนครนายก สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
91
ตัวอย่างชื่อเรื่องวิจัย
ชื่อเรื่อง : ผลการฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ด้วยวิธีสอนแบบ 4 MAT ของนักเรียนชั้น ม.3 โรงเรียนบ้านนา เขตการศึกษา 1 จังหวัดนครนายก * เพิ่มคำว่า “ผล” คำถามวิจัยอาจเพิ่มขึ้น 1 ข้อ (ดูความพึงพอใจของนักเรียนด้วยก็ได้) สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
92
ตัวอย่างชื่อเรื่องวิจัย
ชื่อเรื่อง : ผลของวิธีสอนแบบ 4 MAT ที่มีต่อการฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้น ม.3 โรงเรียนบ้านนาเขตการศึกษา 1 จังหวัดนครนายก สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
93
ตัวอย่างชื่อการวิจัยด้านสังคมศาสตร์
กรณีงานวิจัยเชิงคุณภาพ : ข้อความ/วลี “คุณภาพครูกับคุณภาพการศึกษาไทย” “บทบาทของผู้บริหารต่อคุณภาพการศึกษา” “บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา” สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
94
6. การตั้งวัตถุประสงค์การวิจัย
S M A R T สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
95
กำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย
S M A R T S = sensible / ฉลาด สมเหตุสมผล ชัดเจน M = Measurement / วัดได้ มีความยืดหยุ่น A = Attainable / การบรรลุ R = Research / การค้นคว้า การวิจัย T = Time / เวลา สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
96
หลักการตั้งวัตถุประสงค์การวิจัย
นำชื่อและปัญหาวิจัยนั้นมาตั้งวัตถุประสงค์ เขียนให้ชัดเจนและเขียนแยกเป็นข้อๆ ข้อละอย่าง แต่ละข้อ เขียนให้สามารถหาคำตอบได้ เขียนแล้วต้องบอกให้ได้ว่าจะหาคำตอบได้จากที่ใด อย่างไร สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
97
หลักการตั้งวัตถุประสงค์การวิจัย
ตั้งให้สอดคล้องกับชื่อโครงการและ คำถามวิจัย ขึ้นต้นดัวยคำว่า เพื่อ... เช่น - เพื่อวัดทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ม.3 ที่เรียนแบบ 4 MAT - เพื่อเปรียบเทียบทักษะการคิดวิเคราะห์ของ นักเรียน ม. 3 ก่อนและหลังการสอนแบบ 4 MAT สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
98
7. การกำหนดประชากรการวิจัยในชั้นเรียน
ใช้นักเรียนที่สอน(ทั้งหมด) ไม่ควรใช้กลุ่มตัวอย่าง - ถ้าหากต้องการศึกษาให้ลึกยิ่งขึ้น อาจเปรียบเทียบระหว่างนักเรียนชาย หญิง หรือห้องเก่ง ปานกลาง อ่อน (แต่ต้องตรวจสอบข้อตกลงเบื้องต้นของการนำสถิติมาใช้ก่อนว่าเหมาะสมหรือไม่) สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
99
การกำหนดประชากรการวิจัยในชั้นเรียน
ถ้าต้องการศึกษาตามทฤษฎีก็ต้องมีหลักเหตุผล เช่น วิธีสอนแบบโครงงานเหมาะกับเด็กเก่ง? วิธีสอนแบบบรรยายเหมาะกับเด็กปานกลาง? ก็อาจทำได้ ส่วนการจะนำมาเปรียบเทียบนั้นควรพิจารณาว่าจำเป็นหรือไม่ ได้ประโยชน์อะไร จะมีผลกระทบในแง่ลบต่อนักเรียนหรือไม่ อย่างไร อย่าลืมว่า “ผู้เรียนเป็นสำคัญ” นักเรียนไม่ใช่หนูทดลอง สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
100
8. เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิจัยในชั้นเรียนต้องใช้เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลหลากหลายชนิดร่วมกันจึงจะได้ผลการวิจัยที่มีความตรง (Validity) เช่น สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
101
เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
แบบสังเกต แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบตรวจสอบรายการ ฯลฯ แผนการสอน สื่อ / นวัตกรรมการสอน แบบวัด /แบบทดสอบ สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
102
ข้อพึงระวังในการใช้เครื่องมือวิจัย
ต้องใช้เครื่องมือที่มีคุณภาพ ต้องศึกษาหลักการสร้าง / สร้างตามทฤษฎี เช่น แบบทดสอบ ครูผู้ใช้ต้องมีความรู้ในการใช้ /ใช้เป็น /ใช้ถูกต้อง สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
103
9. การวิเคราะห์ข้อมูล t- test (วัดก่อน-หลัง /วัดซ้ำ)ฯลฯ
* วิจัยในชั้นเรียนไม่เน้นการใช้สถิติชั้นสูงเน้นการบรรยายสภาพจริง เช่น การสังเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) Profile (กราฟ แผนภูมิแท่ง วงกลม ฯลฯ) สถิติพื้นฐาน ( ร้อยละ ค่าเฉลี่ย สัดส่วนส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ฯลฯ) t- test (วัดก่อน-หลัง /วัดซ้ำ)ฯลฯ สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
104
การวิเคราะห์ข้อมูล F-test (ANOVA) เป็นการวิเคราะห์ความแปรปรวน (กรณี 3 กลุ่ม) หาความสัมพันธ์ (r /correlation) วิเคราะห์การถดถอย -simple regression -multiple regression สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
105
การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์องค์ประกอบ (factor analysis) MANOVA ANCOVA
พหุระดับ (HLM) ฯลฯ สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
106
10. สรุปผลการวิจัย เป็นการตีความหมายจากผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้
* ยึดวัตถุประสงค์เป็นหลัก พร้อมกับการอภิปรายผล (ว่าสอดคล้องกับทฤษฎีใด /อย่างไร) สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
107
11. เขียนรายงานการวิจัย การทำวิจัยที่ไม่ได้เขียนรายงานการวิจัย มีค่าเท่ากับไม่ได้ทำวิจัย สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
108
การเขียนรายงานการวิจัย
โดยทั่วไปประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนหน้า(ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ) ส่วนเนื้อเรื่อง ( 5 บท) บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (การทบทวนวรรณกรรม) บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ ส่วนท้าย (อ้างอิง และภาคผนวก) สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
109
การพิมพ์ สำคัญมาก เพราะมี from โดยเฉพาะที่ต้องศึกษา เช่น ขอบกระดาษ การย่อหน้า การเว้นวรรค การอ้างอิงในเนื้อเรื่อง การอ้างอิงท้ายเรื่อง ตัวอักษรที่ใช้ มี 3 แบบ คือ อังคนา คลอเดียและ บราวาเรีย ขนาดตัวอักษร เนื้อเรื่องขนาด 16 พอยด์ หัวข้อใหญ่ 18 พอยด์ และบทที่ 20 พอยด์ ปัจจุบันมีโปรแกรมสำเร็จรูป (template) ที่จัดทำสารบัญและอ้างอิงให้สำเร็จ ฯลฯ สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
110
การเผยแพร่ผลการวิจัย
ปัจจุบันการเผยแพร่ผลการวิจัยมีความสำคัญมาก โดยเฉพาะผู้ที่ต้องการนำไปเป็นผลงานเสนอขอเลื่อนตำแหน่ง ความชอบ/ขั้นเงินเดือน รวมถึงการประกันคุณภาพของสถานศึกษา การเผยแพร่ผลการวิจัยที่ยอมรับ คือ ลงตีพิมพ์ในวารสาร ซึ่งผู้วิจัยต้องเขียนเป็นบทความวิจัย (ประมาณ 8-15 หน้า) สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
111
การเขียนบทความวิจัย คือ การย่องานวิจัยทั้งเรื่องให้เหลือประมาณ 8-15 หน้า โดยประกอบด้วยหัวข้อสำคัญ ได้แก่ ภูมิหลัง วัตถุประสงค์ ประชากร กลุ่มตัวอย่าง วิธีดำเนินการวิจัย เครื่องมือวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผล ข้อเสนอแนะ อ้างอิง สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
112
กรณีต้องการขอทุนวิจัย
(ของบประมาณ) สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
113
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Proposal of research project)
คือ แนวทางการทำงานวิจัย หรือ กรอบการทำงานวิจัย ที่มีลักษณะเป็นโครงร่างงานวิจัยบวกกับแผนการทำงานวิจัย =(Proposal + Project) 1. โครงร่างการวิจัย (บทที่ 1 , 2 และ 3) 2. แผนการปฏิบัติงานวิจัย (ผลผลิต ผลกระทบ ผลลัพธ์ ประโยชน์ ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ ) สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
114
เค้าโครง / โครงร่างการวิจัย
(Research proposal) องค์ประกอบ ✏ ความเป็นมา / สภาพปัจจุบันและปัญหา / ภูมิหลัง ✏ วัตถุประสงค์ / จุดมุ่งหมายของการวิจัย - วัตถุประสงค์หลัก / - วัตถุประสงค์รอง ✏ ปัญหาวิจัย / โจทย์วิจัย สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
115
✏ ความสำคัญของการวิจัย
✏ คำสำคัญ (Key words) ✏ ความสำคัญของการวิจัย ✏ ขอบเขตของการวิจัย - ประชากร - กลุ่มตัวอย่าง - ตัวแปร - ตัวแปรต้น / ตัวแปรอิสระ - ตัวแปรตาม สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
116
✏ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
✏ นิยามศัพท์เฉพาะ ✏ กรอบแนวคิดการวิจัย ทฤษฎี / หลักการ / แนวคิด ✏ สมมติฐานการวิจัย ✏ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง - ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ในประเทศ • ต่างประเทศ - หลักการ - แนวคิด สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
117
✏ การเลือกกลุ่มตัวอย่าง
✏ วิธีดำเนินการวิจัย ✏ การกำหนดประชากร ✏ การเลือกกลุ่มตัวอย่าง ✏ การสร้างเครื่องมือในการวิจัย ✏ การเก็บรวบรวมข้อมูล ✏ การวิเคราะห์ข้อมูล สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
118
✏ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
✏ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ✏ บรรณานุกรม ☺ ทุกคนสามารถไปถึงจุดหมายได้ แต่อาจต้องใช้เวลาและวิธีแตกต่างกัน ⌚ สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
119
ขอขอบคุณและขอให้ทุกท่านโชคดี
สวัสดีค่ะ ขอขอบคุณและขอให้ทุกท่านโชคดี สดสี สุทธิศักดิ์ สดสี สุทธิศักดิ์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.