งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผศ.ดร. ปวีณา สนธิสมบัติ ภญ. จันทิมา ชูรัศมี คณะเภสัชศาสตร์ ม.นเรศวร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผศ.ดร. ปวีณา สนธิสมบัติ ภญ. จันทิมา ชูรัศมี คณะเภสัชศาสตร์ ม.นเรศวร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผศ.ดร. ปวีณา สนธิสมบัติ ภญ. จันทิมา ชูรัศมี คณะเภสัชศาสตร์ ม.นเรศวร
การจ่ายยาในโรคติดเชื้อ ของระบบทางเดินหายใจส่วนบน Ceftobiprole, a novel advanced-generation pyrrolidinone cephalosporin ผศ.ดร. ปวีณา สนธิสมบัติ ภญ. จันทิมา ชูรัศมี คณะเภสัชศาสตร์ ม.นเรศวร

2 โรคติดเชื้อของ ระบบทางเดินหายใจส่วนบน (URTI)
โรคหวัด (common cold) โรคไซนัสอักเสบ (rhinosinusitis) โรคหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน (acute otitis media) โรคคออักเสบ (pharyngotonsilitis)

3 โรคติดเชื้อของ ระบบทางเดินหายใจส่วนบน
เป็นโรคที่พบได้บ่อยในทุกเพศทุกวัย เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรีย การจ่ายยาต้านจุลชีพโดยไม่จำเป็นสามารถส่งเสริมให้เกิดการดื้อยาได้

4 URTI ที่จำเป็นต้องได้รับยาต้านจุลชีพ
Group A streptococcal pharyngitis Bacterial rhinosinusitis Acute otitis media Temp > 39° C หรือ ปวดหูมาก Temp < 39° C ปวดหูน้อย อายุ < 6 เดือน อายุ > 6 เดือน + อาการยังไม่ดีขึ้นภายใน ชม.

5 URTI ที่ไม่จำเป็นต้องได้รับยาต้านจุลชีพ
viral pharyngitis viral rhinosinusitis acute otitis media Temp < 39 ° C และปวดหูน้อย แต่อายุ > 6 เดือน common cold

6 เจ็บคอ ปวดเมื่อยตามเนื้อตัว ไข้ต่ำ ๆ
Common cold เจ็บคอ ปวดเมื่อยตามเนื้อตัว ไข้ต่ำ ๆ คัดจมูก น้ำมูกไหล ไอ น้ำมูกเขียวเหนียว หายเป็นปกติได้เอง 1-2 วัน 1-2 วัน Abx have no role in the tx of common cold. This is bec abx are ineffffective at reducing symptom duration or severity and bec of the risk of GI SE, cost of tx, and incresaed R of bact. 3-5 วัน ไม่จำเป็นต้องได้รับยาต้านจุลชีพ

7 แผนภูมิการวินิจฉัยโรค URTI
pneumonia Pharyngitis Rhinosinusitis Common cold Otitis media

8 อาการเจ็บคอ Common Cold Croup Acute pharyngitis ไข้หวัดใหญ่ (Flu)
Herpangina Hand foot mouth disease

9 Acute pharyngitis สาเหตุ Virus Streptococcus pyogenes
(Group A Streptococci (GAS)) ร้อยละ ในเด็ก ร้อยละ 5-10 ในผู้ใหญ่ อื่นๆ อีกมากมาย (ตารางที่ 1)

10 Common Cold จาม คัดจมูก น้ำมูกไหล ระคายคอตามด้วยเจ็บคอ ไอ ปวดศีรษะ หวัด สาเหตุ: Rhinovirus, Coronavirus, Adenovirus, Coxsackie virus, Respiratory syncytial virus, Enterovirus, Parainfluenza virus พักผ่อน ดื่มน้ำมากๆ และรักษาตามอาการ ไม่ต้องให้ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย

11 ไข้หวัดใหญ่ (Flu) ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อ่อนเพลียมากเป็นระยะเวลานาน
ไข้สูงนาน 3-4 วัน อาจมีอาการหนาวสั่นร่วมด้วย ไอแห้งๆ เจ็บคอ คัดจมูกน้ำมูกไหล ปวดศีรษะ สาเหตุ: Influenza virus พักผ่อนมากๆ และรักษาตามอาการ

12 Croup ไข้ เจ็บคอ กลืนลำบาก มีแผ่นฝ้าขาวในลำคอ หายใจลำบาก ไอเสียงแหบห้าว หายใจเสียงดังครู๊ป เกิดจากกล่องเสียง และหลอดลมอักเสบ พบในเด็กอายุ 6 เดือน -3 ปี สาเหตุ: parainfluenza virus รีบส่งต่อผู้ป่วย

13 Herpangina ไข้เฉียบพลัน มีแผลเปื่อยในลำคอบริเวณเพดาน ลิ้นไก่ ทอนซิล
เจ็บคอมาก มีน้ำลายมาก กลืนลำบาก อาจมีอาการปวดท้องและอาเจียนร่วมด้วย อายุ 1-7 ปี สาเหตุ: Coxsackie A virus ถ้ามีอาการรุนแรง  รีบส่งต่อผู้ป่วย

14 Hand foot mouth disease
ไข้ เจ็บคอ ตุ่มเล็กๆ เกิดขึ้นที่ผิวหนังบริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้า และในปาก อายุน้อยกว่า ปี สาเหตุ: Coxsackie A virus ถ้ามีอาการรุนแรง  รีบส่งต่อผู้ป่วย

15 Acute viral pharyngitis
ไข้สูง เจ็บคอมาก ต่อมน้ำเหลืองโตนาน 1-4 สัปดาห์ อ่อนเพลียมาก อาจมีผื่นตามตัว Infectious mononucleosis สาเหตุ: EBV หรือ CMV ถ้ามีอาการรุนแรง  รีบส่งต่อผู้ป่วย

16 Primary HIV infection ไข้ ต่อมน้ำเหลืองโต ผื่น
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ และปวดข้อ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เจ็บคอ ท้องร่วง มีแผลในปาก รีบส่งต่อผู้ป่วย

17 Group A Streptococcal Pharyngitis
อาการทางคลินิก หรือปัจจัยเสี่ยง อายุ 5-15ปี เจ็บคอเฉียบพลัน เจ็บคอเมื่อกลืน มีไข้ ปวดศีรษะ ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ต่อมทอนซิลแดงหรือมีหนองปกคลุม เพดานอ่อนมีจุดเลือดออก ลิ้นไก่บวม แดง ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอด้านหน้าบวมโต Scarlatiniform rash ( ผื่นแดงนูนเล็กๆเริ่มจากใบหน้า และลำคอ และลามไปยังลำตัว)

18 Group A Streptococcal Pharyngitis
ถ้าไม่รักษา สามารถเกิดภาวะแทรกซ้อน peritonsillar abscess retropharyngeal abscess cervical lymphadenitis otitis media sinusitis mastoiditis Rheumatic fever Glomerulonephritis Scarlet fever

19 Group A Streptococcal Pharyngitis
การวินิจฉัย อาการทางคลินิก McIsaac clinical scoring system (คะแนน) อุณหภูมิร่างกายสูงกว่า 38° C ไม่มีอาการไอ ต่อมทอนซิลเป็นหนอง 1 ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอด้านหน้าอักเสบ 1 อายุ 3-14 ปี อายุ ปี อายุ > 45 ปี

20 Group A Streptococcal Pharyngitis
การรักษา คะแนน โอกาสติดเชื้อ GAS การรักษา 0 ร้อยละ ไม่ต้องให้ยาต้านจุลชีพ 1 ร้อยละ ไม่ต้องให้ยาต้านจุลชีพ 2 ร้อยละ อาจให้ยาต้านจุลชีพ 3 ร้อยละ อาจให้ยาต้านจุลชีพ 4 ร้อยละ ให้ยาต้านจุลชีพ

21 วัตถุประสงค์ของการรักษา GAS pharyngitis
ลดการเกิด complications หูชั้นกลางอักเสบ rheumatic fever ลดระยะเวลาในการเกิดโรค ลดการแพร่เชื้อไปยังผู้อื่น

22 การรักษา GAS pharyngitis
เกิดอาการครั้งแรก Penicillin V Amoxicillin Erythromycin ระยะเวลา: 10 วัน เป็นซ้ำ Clindamycin Amoxicillin/ clavulanate ระยะเวลา: 10 วัน ร้อยละ ล้มเหลวหลังการรักษาจาก non compliance

23 ไซนัสและเยื่อบุในจมูกอักเสบ (Rhinosinusitis)
acute rhinosinusitis: อาการ < 4 สัปดาห์ และหายไปอย่างสมบูรณ์ subacute rhinosinusitis: อาการ สัปดาห์ chronic rhinosinusitis: อาการต่อเนื่อง > 12 สัปดาห์ recurrent acute rhinosinusitis: มีการกลับเป็นซํ้า> 3 ครั้งต่อปี แต่ละครั้ง 7 วัน - 4 สัปดาห์ และการอักเสบหายไปอย่างสมบูรณ์ทุกครั้ง acute exacerbation on chronic rhinosinusitis: การอักเสบเรื้อรังและผู้ป่วยมีอาการแย่ลงทันทีหรือมีอาการเกิดขึ้นใหม่ อาการเกิดขึ้นใหม่จะหายไปหลังจากมีอาการไม่เกิน 4 สัปดาห์

24 ไซนัสและเยื่อบุในจมูกอักเสบ (Rhinosinusitis)
อาการแสดง มีอาการ > 10 วัน และอาการเป็นมากขึ้นเรื่อยๆ มีน้ำมูกใส หรือเหลืองหรือสีเขียว ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น ไข้ตํ่าๆ ปวดศีรษะ เจ็บคอ ปวดบริเวณโพรงไซนัสหรือใบหน้าอาจพบลักษณะใบหน้าบวมได้ โดยที่ไม่จำเป็นต้องมีอาการปวดศีรษะบริเวณโพรงไซนัส

25 Acute rhinosinusitis อาการแสดง
มีอาการหนองไหลออกมาทางจมูก (Purulent nasal discharge) ทางด้านหน้า (รูจมูก) หรือ ทางด้านหลัง (ไหลลงคอ) หรือทั้งสองทาง โดยมีอาการเกิดขึ้นภายใน 4 สัปดาห์ ชนิด Viral rhinosinusitis (VRS) Acute bacterial rhinosinusitis (ABRS)

26 Viral rhinosinusitis (VRS)
อาการไซนัสอักเสบเฉียบพลันที่มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อไวรัส มีอาการ < 10 วัน ร่วมกับ ไม่มีอาการไซนัสอักเสบที่เลวร้ายลง ตลอดช่วงเวลาดังกล่าว การรักษา VRS นั้น ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ และสามารถหายได้เอง การรักษาอาการแน่น คัดจมูก หรืออาการปวดสามารถใช้ยาบรรเทาอาการได้

27 Acute bacterial rhinosinusitis (ABRS)
อาการไซนัสอักเสบเฉียบพลันที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย มีอาการ > 10 วัน หรือเกิดขึ้นหลังจากการติดเชื้อที่ทางเดินหายใจส่วนบน หรือ มีอาการไซนัสอักเสบที่เลวร้ายลงในช่วง 10 วัน โดยเกิดขึ้นหลังจากที่ตอนแรกมีอาการดีขึ้นแล้ว (double worsening)

28 ไซนัสและเยื่อบุในจมูกอักเสบ (Rhinosinusitis)
ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนชนิดที่ไม่รุนแรง ริดสีดวงจมูก, หูชั้นกลางอักเสบ, การได้ยินลดลง ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนชนิดที่รุนแรง การสูญเสียการมองเห็น ฝีในสมอง

29 ABRS สาเหตุ: S. pneumoniae H. influenzae Viridians Streptococci
M. catarrhalis

30 Chronic rhinosinusitis (CRS)
อาการไซนัสอักเสบที่มีอาการต่อเนื่อง > 12 สัปดาห์ การรักษา  ส่งต่อเพื่อส่งเพาะเชื้อที่เป็นสาเหตุ ยาปฏิชีวนะ ยาบรรเทาอาการอักเสบของไซนัส การผ่าตัดเพื่อระบายหนองออก

31 ความไวของ S. pneumoniae
penicillin-resistant S. pneumoniae (PRSP) ร้อยละ 33.1 ร้อยละ 15 ของเชื้อดื้อต่อ amoxicillin ร้อยละ 2.5, 3.5, 1.3 และ 0 จะดื้อต่อยา ceftriaxone, cefditoren, levofloxacin และ moxifloxacin ตามลำดับ penicillin intermediate susceptible S. pneumoniae (PISP) ร้อยละ 19.9 ดื้อยา azithromycin และ co-trimoxazole ร้อยละ 77

32 ความไวของ S. pneumoniae
PCN OFX VAN CLIN ERY TMP/SMX PCN=penicillin, OFX=ofloxacin, VAN=vancomycinCLIN=clindamycin, TMP/SMX=trimethoprim/sulfamethoxazole, ERY=erythromycin NARST 2007

33 H. influenzae และ M. catarrhalis
สายพันธุ์ที่ผลิต -lactamase ร้อยละ 7 – 20 สายพันธุ์ที่ดื้อต่อยาจุลชีพอื่นๆ เช่น azithromycin และ co-trimoxazole

34 การรักษา ABRS Amoxicillin* ในขนาดยาสูง x 10 – 14 วัน
amoxicillin/clavulanic acid* x 10 – 14 วัน ปัจจัยเสี่ยง มีประวัติการได้รับยากลุ่ม -lactam เพิ่งออกจากการนอนโรงพยาบาลภายใน 90 วัน Clindamycin** *ขนาดยาขึ้นกับอุบัติการณ์ PISP, PRSP **ไม่ควรใช้เป็นยาเดี่ยว

35 การรักษาด้วยยาเสริมชนิดอื่น
decongestant ทั้งชนิดหยอด/พ่นจมูก เช่น ephedrine, xylomethazoline, naphazoline, oxymetazoline ไม่ควรใช้ยาติดต่อกัน > 3 วัน เพราะเกิด rebound effect เยื่อบุจมูกบวมมากขึ้น น้ำเกลือล้างโพรงจมูก ไซนัสอักเสบเรื้อรังหรือโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ ยาเสตียรอยด์พ่นจมูก และยาต้านฮีสตามีนชนิดรับประทาน กรณีที่เป็นโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ (allergic rhinitis) ไม่ควรใช้ยาต้านฮีสตามีนที่ฤทธิ์ต้านโคลิเนอร์จิก น้ำมูกและสิ่งคัดหลั่งในไซนัสเหนียวขึ้น มีผลทำให้การระบายหนองในโพรงไซนัสเป็นไปได้ยาก

36 Otitis media Acute otitis media
มีไข้ ปวดหู ในเด็กเล็กมักร้องไห้กวน หรือใช้มือดึงใบหูบ่อยๆ โดยอาการที่เกิดขึ้นจะเกิดแบบเฉียบพลัน (ภายใน 48 ชั่วโมง) Chronic otitis media มักพบหนองไหลออกมาจากหูเรื้อรัง หูอื้อ การได้ยินลดลง มักไม่มีไข้หรืออาการปวดหู

37 สาเหตุของ otitis media
Acute otitis media Streptococcus pneumoniae (ร้อยละ 40) Hemophilus influenzae (ร้อยละ 25-30) Morexella catarrharis (ร้อยละ 10-15) Chronic otitis media เกิดจากหูชั้นกลางอักเสบแบบเฉียบพลันที่ไม่ได้รับการรักษา หรือเกิดจากการบาดเจ็บจนแก้วหูทะลุ

38 ผู้ป่วยที่ควรได้รับยาต้านจุลชีพทันที
อายุ < 6 เดือนทุกราย อายุ > 6 เดือนที่มีอาการรุนแรง มีไข้ > 39 °C มีอาการปวดหูปานกลางถึงมาก

39 ปัจจัยเสี่ยงในการติดเชื้อ pneumococci ที่ดื้อยาน้อย
เป็นหูชั้นกลางอักเสบแบบเฉียบพลันครั้งแรก หรือมีอายุมากกว่า 2 ปี อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีเชื้อ pneumococcal ที่ดื้อยาน้อย ยาหลัก: amoxycilin มก./กก.วัน x 10 วัน ยาทางเลือก: cefdinir หรือ cefuroxime กรณีแพ้ยากลุ่ม penicillin แบบไม่รุนแรง (ผื่น) azithromycin, clarithromycin กรณีแพ้ยา penicillin แบบรุนแรง (anaphylaxis)

40 ปัจจัยเสี่ยงในการติดเชื้อ pneumococci ที่ดื้อยามาก
อายุน้อยกว่า 2 ปี อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีเชื้อ pneumococcal ที่ดื้อยามาก การรักษา: amoxicillin ขนาดสูง (80-90 มก./กก./วัน)

41 การตรวจติดตามประสิทธิภาพ
ประเมินหลังได้รับยา ชั่วโมง มีอาการดีขึ้น  ให้ยาต่อจนครบ 5 วัน อาการไม่ดีขึ้น  เปลี่ยนยาต้านจุลชีพ amoxicillin ขนาดต่ำมาก่อนและอาการไม่ดีขึ้น  amoxicillin ขนาดสูง หรือ amoxicillin/calvulanate

42 ผู้ที่เคยได้รับยาต้านจุลชีพมาก่อน
Amoxycillin/clavulanate 90 mg/kg/day ของ amoxicillin แบ่งให้ทุก 12 ชั่วโมง ระยะเวลา 10 วัน

43 กรณีศึกษาที่ 1 ผู้ป่วยเด็กชายไทยอายุ 11 ปี
มีอาการปวดหูข้างซ้ายมากเป็นเวลา 2 วัน ตัวไม่ร้อน การได้ยินของหูสองข้างเท่ากัน 2 สัปดาห์ก่อนไปว่ายน้ำในแม่น้ำ มีน้ำเข้าหูข้างซ้าย ไม่ได้ทำการรักษาใด

44 กรณีศึกษาที่ 1 วินิจฉัย ก. Common cold
ข. Acute bacterial rhinosinusitis ค. Viral rhinosinusitis ง. Acute otitis media

45 กรณีศึกษาที่ 1 ผู้ป่วยเด็กชายไทยอายุ 11 ปี
มีอาการปวดหูข้างซ้ายมากเป็นเวลา 2 วัน ตัวไม่ร้อน การได้ยินของหูสองข้างเท่ากัน 2 สัปดาห์ก่อนไปว่ายน้ำในแม่น้ำ มีน้ำเข้าหูข้างซ้าย ไม่ได้ทำการรักษาใด

46 กรณีศึกษาที่ 1 การรักษา ก. Amoxycilin 45 mg/kg/day
ค. Amoxycillin/clavulanic acid ง. ไม่รักษา

47 การรักษา พิจารณาเกณฑ์รักษา - อายุ < 6 เดือนทุกราย
- อายุ > 6 เดือนที่มีอาการรุนแรง (มีไข้ > 39 °C หรือ มีอาการปวดหูปานกลางถึงมาก) - พิจารณาปัจจัยเสี่ยงในการติดเชื้อดื้อยา PRSP : อายุน้อยกว่า 2 ปี อยู่ในพื้นที่เสี่ยง HI, MC : เคยได้รับยากลุ่ม -lactam หรือเพิ่งออกจากการนอนโรงพยาบาลภายใน 90 วัน)

48 กรณีศึกษาที่ 1 การรักษา ก. Amoxycilin 45 mg/kg/day
ค. Amoxycillin/clavulanic acid ง. ไม่รักษา

49 กรณีศึกษาที่ 2 ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 20 ปี
มีอาการปวดบริเวณรอบจมูกและโหนกแก้ม มีน้ำมูก หายใจมีกลิ่นเหม็น มีอาการมาเป็นเวลา 10 วัน โดยอาการมีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ 2 สัปดาห์ก่อนหน้านี้ เป็นหวัด ได้รับการรักษาด้วย amoxycillin (500) 1*3 เป็นเวลา 5 วัน

50 กรณีศึกษาที่ 2 วินิจฉัย ก. Common cold
ข. Acute bacterial rhinosinusitis ค. Viral rhinosinusitis ง. Otitis media

51 กรณีศึกษาที่ 2 ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 20 ปี
มีอาการปวดบริเวณรอบจมูกและโหนกแก้ม มีน้ำมูก หายใจมีกลิ่นเหม็น มีอาการมาเป็นเวลา 10 วัน โดยอาการมีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ 2 สัปดาห์ก่อนหน้านี้ เป็นหวัด ได้รับการรักษาด้วย amoxycillin (500) 1*3 เป็นเวลา 5 วัน Rhinosinusitis Acute bacterial

52 กรณีศึกษาที่ 2 การรักษา ก. Amoxycilin 45 mg/kg/day
ค. Amoxycillin/clavulanic acid ง. ไม่รักษา

53 กรณีศึกษาที่ 2 ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 20 ปี
มีอาการปวดบริเวณรอบจมูกและโหนกแก้ม มีน้ำมูก หายใจมีกลิ่นเหม็น มีอาการมาเป็นเวลา 10 วัน โดยอาการมีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ 2 สัปดาห์ก่อนหน้านี้ เป็นหวัด ได้รับการรักษาด้วย amoxycillin (500) 1*3 เป็นเวลา 5 วัน

54 การรักษา พิจารณาปัจจัยเสี่ยงในการติดเชื้อดื้อยา
- เคยได้รับยากลุ่ม -lactam

55 กรณีศึกษาที่ 2 การรักษา ก. Amoxycilin 45 mg/kg/day
ค. Amoxycillin/clavulanic acid ง. ไม่รักษา

56 กรณีศึกษาที่ 3 ท่านเห็นด้วยหรือไม่
ผู้ป่วยหญิงไทยโสด อายุ 30 ปี ยังคงมีน้ำมูกและเสมหะสีเขียว ไอ เจ็บคอ มีไข้ หลังได้รับการรักษาอาการหวัดด้วย amoxycillin (500) 1*3 เป็นเวลา 5 วัน เภสัชกรประจำร้านจ่ายยา roxithromycin (150) 1*2 จำนวน 10 เม็ด ท่านเห็นด้วยหรือไม่

57 การรักษา อาการไม่ดีขึ้น เนื่องจาก - เชื้ออาจเกิดการดื้อยา PISP, PRSP
HI, MC ที่สร้าง beta-lactamase - เชื้ออื่นที่ยาไม่ครอบคลุม atypical pathogens Amoxycillin ขนาดสูง Amoxy/calv Macrolides

58 ความครอบคลุมเชื้อของ macrolides
ผลต่อเชื้อ H.influenzae A>C=T>E=D=R ผลต่อเชื้อ S. pneumoniae - PSSP : T>E=C>A>R - PRSP : T>R>C=Z>E A=azithromycin, C=clarithromycin, T=telithromycin, E=erythromycin, D=dirithromycin.R=roxithromycin, PSSP=penicillin-sensitive S.pneumoniae, PRSP=penicillin-resistant S.pneumoniae, Drugs 2001;61:443-98, Drugs 2003;63:

59 ความครอบคลุมเชื้อของ macrolides
ผลต่อเชื้อ M.catarrhalis R>A>E=D=C ผลต่อเชื้อ C.pneumoniae R>C>A=E ผลต่อเชื้อ M.pneumoniae A>C>E>R>D A=azithromycin, C=clarithromycin, T=telithromycin, E=erythromycin, D=dirithromycin, R=roxithromycin, Drugs 2003;63:

60 การรักษา ก. amoxycillin ขนาดสูง ข. amoxycillin/clavulanate
ค. amoxycillin ขนาดสูง + azithromycin ง. amoxycillin/clavulanate + roxithromycin จ. azithromycin

61 THANK YOU

62 Azithromycin, Clarithromycin, Erythromycin, Roxithromycin
ข้อดี มีฤทธิ์ต่อ H. influenzae (Azithromycin > Clarithromycin > Erythromycin, Roxithromycin) Azithromycin และ clarithromycin สามารถให้ได้วันละครั้งและมีอาการไม่พึงประสงค์น้อย สามารถใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยแพ้ยา beta-lactams

63 Azithromycin, Clarithromycin, Erythromycin, Roxithromycin
ข้อด้อย มีรายงาน S. pneumoniae ดื้อ macrolide สูงถึงร้อยละ 20 – 30 Erythromycin ก่อให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์มาก และยามีประสิทธิภาพต่ำต่อ H. influenzae ผลการศึกษาพบว่า azithromycin มีฤทธิ์ต่อ H. influenzae ด้อยกว่า amoxicillin/clavulanate

64 Azithromycin, Clarithromycin, Erythromycin, Roxithromycin
ข้อด้อย มีอุบัติการณ์ S. pneumoniae ที่ดื้อต่อยาสูงกว่ายาอื่น

65 Azithromycin microsphere ๒ กรัม
ชนิดผงแกรนูลออกฤทธิ์นาน (prolonged-release granule) สำหรับผสมเป็นยาน้ำแขวนตะกอน ค่าครึ่งชีวิต 59 ชั่วโมง ข้อบ่งใช้ Acute bacterial sinusitis Acute exacerbation of chronic bronchitis Phayngitis/tonsillitis จากเชื้อ S. pyogenes Community-acquired pneumonia

66 Amoxicillin ข้อดี เป็นยาหลักที่นิยมใช้รักษาการติดเชื้อ S. pneumoniae
เป็นมาตรฐานการรักษา acute bacterial rhinosinusitis และ otitis media ราคาถูก

67 Amoxicillin ข้อด้อย ไม่มีฤทธิ์ต่อเชื้อที่สร้างเอนไซม์ β-lactamases

68 Amoxicillin/Clavulanate
ข้อดี สามารถครอบคลุมเชื้อที่ดื้อยาโดยการสร้างเอนไซม์ β-lactamase ได้แก่ H. influenzae และ M. catarrhalis

69 Amoxicillin/Clavulanate
ข้อด้อย มีฤทธิ์ต่อเชื้อที่สร้างเอนไซม์ β-lactamase บางชนิด มีราคาแพงกว่าและเกิดอาการไม่พึงประสงค์ต่อระบบทางเดินอาหารสูงกว่า amoxicillin

70 Amoxicillin/Clavulanate ขนาดสูง
มีฤทธิ์ต่อ PCN-R S. pneumoniae กำจัดเชื้อจาก nasopharynx ของผู้ป่วยได้ดีกว่า amox/clav ขนาดต่ำ เกิดอาการไม่พึงประสงค์ต่อทางเดินอาหารสูง 2,000/125 มก. ทุก 12 ชม. ก่อให้เกิดท้องร่วง (ร้อยละ 16.4)

71 Cefpodoxime, Cefprozil, Cefaclor, Cefuroxime axetil, Cefdinir
ข้อดี มีประสิทธิภาพดีต่อ H. influenzae (ร้อยละ 85) ยกเว้น cefaclor และ cefprozil มีประสิทธิภาพดีต่อ S. pneumoniae (ร้อยละ 75 – 85) รวมถึง PISP

72 Cefpodoxime, Cefprozil, Cefaclor, Cefuroxime axetil, Cefdinir
ข้อด้อย ประสิทธิภาพในการกำจัด S. pneumoniae (amoxicillin > cefprozil = cefpodoxime > cefuroxime > cefaclor) ลดความไวต่อ PCN-R S. pneumoniae

73 Doxycycline ข้อดี มีประสิทธิภาพสูงในการกำจัด S. pneumoniae (ร้อยละ 90 – 95) และ H. influenzae มีราคาถูก

74 Doxycycline ข้อด้อย เป็นยาที่ไม่ค่อยนิยมใช้
มีข้อมูลประสิทธิภาพทางคลินิกน้อย

75 Levofloxacin, Moxifloxacin
ข้อดี มีประสิทธิภาพต่อ S. pneumoniae > ร้อยละ 98รวมถึง PRSP มีฤทธิ์ต้าน H. influenzae และ M. catarrhalis เป็นยาที่มีประสิทธิภาพหลังผู้ป่วยล้มเหลวจากการรักษาด้วย beta-lactams

76 Levofloxacin, Moxifloxacin
ข้อดี มีทั้งรูปแบบรับประทานและฉีดเข้าหลอดเลือดดำ ผลการศึกษา meta-analysis พบว่ามีประสิทธิภาพในการรักษามากกว่า β-lactams หรือ macrolides สามารถให้วันละครั้ง

77 Levofloxacin, Moxifloxacin
ข้อด้อย การใช้ยากลุ่มนี้พร่ำเพรื่ออาจเพิ่มความเสี่ยงในการดื้อยาของ S. pneumoniae มีราคาแพง


ดาวน์โหลด ppt ผศ.ดร. ปวีณา สนธิสมบัติ ภญ. จันทิมา ชูรัศมี คณะเภสัชศาสตร์ ม.นเรศวร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google