งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย

2 โอกาสที่จะแต่ง 1. งานพระราชพิธีและงานรัฐพิธี
2. การต้อนรับพระราชอาคันตุกะ ที่เดินทางมาเยือนประเทศไทย 3. งานสโมสรสันนิบาต 4. อื่น ๆ

3 หลักการประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์
ประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ที่ได้รับพระราชทานชั้นสูงสุด ของแต่ละตระกูลตามลำดับเกียรติ และตามกำหนดนัดหมายของทางการ

4 ไม่ให้ประดับก่อนกำหนดเวลา
ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้เข้าเฝ้า ฯ รับพระราชทาน หากเข้าเฝ้า ฯ รับพระราชทานไม่ได้ การประดับต้องให้ผ่านพ้นพิธีไปก่อน เครื่องราชฯ อื่น ๆ ประดับไดัตั้งแต่ วันเนื่องในโอกาสพระราชทาน หรือ ตั้งแต่วันที่มีประกาศของทางราชการ

5 เครื่องแบบปฏิบัติราชการ เครื่องแบบกากีคอพับ
เครื่องแบบพิธีการ เครื่องแบบปกติขาว เครื่องแบบเต็มยศ เครื่องแบบครึ่งยศ เครื่องแบบสโมสร เครื่องแบบปฏิบัติราชการ เครื่องแบบกากีคอพับ เครื่องแบบกากีคอแบะ

6 เครื่องแบบปกติขาว

7 เครื่องแบบเต็มยศ (ม.ป.ช. ประดับร่วมกับ ม.ว.ม.)

8 เครื่องแบบครึ่งยศ

9 เครื่องแบบสโมสร แบบ ก แบบ ข แบบ ค.

10 เครื่องแบบปฏิบัติราชการ

11 เครื่องแต่งกายสำหรับบุคคลซึ่งไม่มี กฎหมายหรือข้อบังคับของทางราชการ
กำหนดให้มีเครื่องแบบเฉพาะ บุรุษ ชุดขอเฝ้า ฯ สตรี ชุดไทย บรมพิมาน อมรินทร์ จิตรลดา เรือนต้น

12 ชุดขอเฝ้า ฯ และเครือ่งประกอบ

13 ชุดไทยบรมพิมาน ชุดไทยอมรินทร์

14 ชุดไทยจิตรลดา ชุดไทยเรือนต้น

15 การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชนิด ประดับหน้าอกสำหรับบุรุษ และประดับหน้าบ่าสำหรับสตรี เช่น บ.ม. บ.ช. จ.ม. จ.ช. บุรุษ ประดับเหนือกระเป๋า เบื้องซ้ายต่ำกว่าแนวรังดุม เม็ดที่ 1 พองาม สตรี ประดับหน้าบ่าซ้าย

16 จ.ช. ประดับร่วมกับ จ.ม. ท.ช. ประดับร่วมกับ ท.ม.

17 ท.ม. ประดับร่วมกับ ต.ช. ท.ช. ประดับร่วมกับ ท.ม.

18 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชนิดคล้องคอ
ทั้งมีดารา และไม่มีดารา เช่น ต.ม. ต.ช. ท.ม. ท.ช.

19

20

21 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชนิด
มีสายสะพาย เช่น ป.ม. ป.ช. ม.ว.ม. ม.ป.ช. ป.ภ.

22 ผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
ชั้นสายสะพายมากกว่า 1 สายขึ้นไป ให้สวม สายสะพายที่ระบุในกำหนดหมายทางราชการ หากไม่ระบุชื่อสายสะพาย หรือไม่ได้รับ พระราชทานสายที่ระบุในกำหนดนัดหมาย ของทางการ ให้สวมสายสะพายสูงสุดที่ได้รับ พระราชทาน ป.ม., ป.ช สวมจากบ่าขวาเฉียงลง ทางซ้าย ม.ว.ม., ม.ป.ช. สวมจากบ่าซ้ายเฉียงลง ทางขวา

23 ประดับ ป.ม. และ ท.ช.

24 ประดับ ป.ช. และ ท.ม.

25 ประดับ ม.ว.ม. และ ป.ช.

26 ประดับ ม.ป.ช. และ ม.ว.ม.

27 ม.ว.ม. ประดับร่วมกับ ป.ช. ม.ป.ช. ประดับร่วมกับ ม.ว.ม.
ม.ว.ม. ประดับร่วมกับ ป.ช ม.ป.ช. ประดับร่วมกับ ม.ว.ม.

28 ป.ม. ประดับร่วมกับ ท.ช. ป.ช. ประดับร่วมกับ ป.ม.
ป.ม. ประดับร่วมกับ ท.ช ป.ช. ประดับร่วมกับ ป.ม.

29 ประดับเครื่องราชฯ เหมือนเต็มยศ แต่ไม่สวมสายสะพาย
เครื่องแบบครึ่งยศ ประดับเครื่องราชฯ เหมือนเต็มยศ แต่ไม่สวมสายสะพาย

30 การประดับดารา 1 2

31 1 1 2 3 2 3 4

32 การประดับเหรียญราชอิสริยาภรณ์
เช่น เหรียญจักรพรรดิมาลา เหรียญที่ระลึกในโอกาสสำคัญต่าง ๆ ให้ประดับที่หน้าอกเบื้องซ้าย และหน้าบ่าซ้ายเช่นเดียวกับ เครื่องราชชนิดประดับหน้าอก สำหรับบุรุษและหน้าบ่า สำหรับสตรี

33 แพรแถบเหรียญราชอิสริยาภรณ์
และเหรียญที่ระลึก

34

35 เครื่องแบบปกติขาวประดับเหรียญ

36 การประดับเครื่องหมายสำหรับ ประดับแพรแถบ
(แพรแถบย่อเครื่องราชอิสริยาภรณ์) ให้ประดับกับเครื่องแบบปกติขาว และเครื่องแบบปฏิบัติงาน ที่หน้าอกเหนือกระเป๋าเสื้อเบื้องซ้าย

37

38 การประดับดุมเสื้อเครื่องราชอิสริยาภรณ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก (ตั้งแต่ชั้น บ.ช. ขึ้นไป) และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (ตั้งแต่ชั้น บ.ม. ขึ้นไป)

39

40 การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ สำหรับข้าราชการนอกประจำการ
เครื่องหมาย นก

41 เครื่องหมาย นก


ดาวน์โหลด ppt การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google