งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Legal System Subject of Law

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Legal System Subject of Law"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Legal System Subject of Law
Rule of Law – Civil Case & Criminal Case, Private & Public Law Crime & Punishment Legal Process  Legal Procedure 13 Legal Procedure

2 กระบวนการยุติธรรม การต้องมีคนดูแลจัดการให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายหลังจากที่มีการบัญญัติไว้แล้ว เช่น ตำรวจ อัยการ ศาล ราชทัณฑ์ ข้อพิพาทที่เกิดขึ้น ข้อเท็จจริง เกิดอะไรขึ้นในความเป็นจริง การพิสูจน์โดยอ้างอิงจากพยานหลักฐาน ตามวิธีการทางกฎหมาย วิธีการทางกฎหมาย คือ กฎหมายวิธีสบัญญัติ การไม่ทำตามวิธีการทางกฎหมายนี้ อาจทำให้การรับฟังพยานหลักฐานนั้นถูกจำกัด Due Process of Law เพื่อคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคลว่าต้องมีการดำเนินกระบวนการยุติธรรมอย่างถูกต้อง เป็นธรรม 13 Legal Procedure

3 พัฒนาการของสังคมกับกระบวนการยุติธรรม
การเชื่อผี สิ่งศักดิ์สิทธิ์ อำนาจเหนือธรรมชาติ การครอบงำจากศาสนจักร การใช้ความรุนแรง โหดร้ายในการบังคับหาความจริง การใช้มาตรการบีบบังคับทางสังคม ชุมชน วิถีประชา การใช้กระบวนการยุติธรรมของรัฐ การเมืองแบบรวมศูนย์อำนาจ การใช้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์เข้ามาเป็นประโยชน์ต่อการสืบหาความจริง กระบวนการที่เปิดทางเลือกให้แก่คู่กรณีโดยคำนึงถึงความหลากหลายทางประเพณีและความเชื่อ พหุนิยมทางกฎหมาย 13 Legal Procedure

4 การพิสูจน์ ระบบกล่าวหา – คู่พิพาททำหน้าที่กล่าวหากัน ศาลเป็นคนกลางในการตัดสิน “ผู้ใดกล่าวอ้าง ผู้นั้นต้องนำสืบ” “การพิสูจน์จนสิ้นสงสัย” ระบบไต่สวน – ศาลมีบทบาทในการแสวงหาความจริง หาพยานหลักฐาน เช่น การดำเนินกระบวนการพิจารณาคดีทางปกครอง ระบบสันนิษฐานไว้ก่อน ความรับผิดเด็ดขาด – เช่น คดีคุ้มครองผู้บริโภค Product Liability คดีคอรับปชั่น การแสดงทรัพย์สิน หนี้สิน ต้องอธิบายให้ได้ว่าได้ทรัพย์สินนั้นมาได้อย่างไร คดีหมอวิสุทธ-หมอภัสสภร คดีเชอรี่แอน คดีบก./เฟสบุค ไม่ได้ประกันตัว 13 Legal Procedure

5 กระบวนการยุติธรรมทางแพ่ง
การที่คนเราเท่าเทียมกัน ภาวะไร้รัฐ state of nature การต้องตามบังคับคดี การมีหน่วยงานจัดการหักเงิน ณ ที่จ่ายเพื่อตัดปัญหาต้องตามทวงทุกเดือน 13 Legal Procedure

6 กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
พื้นฐานของการลงโทษที่กระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของบุคคลโดยตรง การต้องมีการกลั่นกรองจากองค์กรอื่นๆก่อน การออกหมายค้น หมายจับ หมายขัง การกำหนดสิทธิของผู้ต้องหา และจำเลย 13 Legal Procedure

7 Fair Trial สิทธิที่จะได้รับรู้สิทธิ และสื่อสาร
สิทธิในการต่อสู้คดี รู้ประเด็น พยานหลักฐานที่ใช้ปรักปรำกัน สิทธิที่จะมีที่ปรึกษาทางกฎหมาย กระบวนการคุ้มครองสิทธิ ความปลอดภัยของคู่ความและพยาน สิทธิของจำเลยในการได้รับค่าชดเชย ถ้าต่อมาปรากฎว่าบริสุทธิ์ สิทธิของผู้ต้องโทษที่จะได้รับการเยียวยา ฟื้นฟูเพื่อกลับเข้าสู่สังคม สิทธิของผู้เสียหายที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทน และฟื้นฟู สิทธิของพยานที่จะได้รับค่าตอบแทนและคุ้มครองอย่างเหมาะสม 13 Legal Procedure

8 สิทธิในกระบวนการยุติธรรมตามรัฐธรรมนูญ
สิทธิเสมอภาคภายใต้รัฐธรรมนูญ และกฎหมายในลำดับศักดิ์ต่างๆ การลงโทษทางอาญาภายใต้หลักการสากล – กฎหมายอาญาต้องไม่มีผลย้อนหลัง หลักการสันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ กระบวนการยุติธรรมต้อง ง่าย สะดวก รวดเร็ว และทั่วถึง บุคคลมีสิทธิได้รับการพิจารณาอย่างเปิดเผย รับทราบข้อกล่าวหา เข้าถึงพยานหลักฐานได้ การคัดค้านตุลาการ การมีเหตุผลประกอบคำพิพากษา 13 Legal Procedure

9 สิทธิในกระบวนการยุติธรรมตามรัฐธรรมนูญ 2
สิทธิที่จะไม่ให้การปรักปรำตัวเอง ผู้มีส่วนได้เสียต้องได้รับความเป็นธรรม ปฏิบัติอย่างเหมาะสม กลุ่มผู้ด้อยโอกาสต้องได้รับการคุ้มครองดูแลตามความเหมาะสม ในคดีอาญา จำเลยมีสิทธิในการต่อสู้ เรียกพยานหลักฐาน ทนาย ในคดีแพ่ง คู่ความมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือจากรัฐอย่างเหมาะสม 13 Legal Procedure

10 สิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
สิทธิที่จะปลอดจากการถูกดักฟัง หรือตรวจกัก สิทธิปลอดจากการเข้าค้น แสวงหาพยานหลักฐานจากพาหนะ/เคหะสถาน/เนื้อตัวร่างกาย โดยมิชอบ สิทธิที่จะปลอดจากการจับกุม คุมขังโดยมิชอบ สิทธิที่จะได้รับการแจ้งข้อกล่าวหา สิทธิที่จะไม่ให้การปรักปรำ สิทธิในการขอทนายที่ไว้วางใจ เข้าฟังการให้ปากคำในชั้นสอบสวน 13 Legal Procedure

11 สิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา 2
สิทธิที่จะได้รับการปล่อยตัวชั่วคราว (ประกันตัว) สิทธิที่จะได้รับการสอบสวนอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และเป็นธรรม สิทธิที่จะไม่ถูกฟ้องคดีอาญาอย่างไม่เป็นธรรม สิทธิในการขอความช่วยเหลือทางกฎหมาย การสื่อสาร การพิจารณาคดีต้อง เปิดเผยถูกต้อง รวดเร็ว เป็นธรรม สิทธิที่จะป้องกันไม่ให้นำพยานหลักฐานที่ไม่ชอบมาปรักปรำ 13 Legal Procedure

12 สิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา 3
สิทธิที่จะไม่ถูกทารุณกรรม ทรมาน กระทำการลดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ การประหารชีวิตจะกระทำได้ก็ต่อเมื่อเป็นคำพิพากษาของศาลตามกฎหมาย ห้ามกระทำวิสามัญฆาตกรรม ผู้ต้องขังมีสิทธิร้องเรียนต่อผู้ตรวจการราชทัณฑ์ สิทธิในการขอรื้อฟื้นการพิจารณาคดีใหม่ สิทธิเด็กและผู้ด้อยโอกาสอื่นในการได้รับการดำเนินคดีที่เหมาะสม 13 Legal Procedure

13 กระบวนการยุติธรรมทางแพ่ง
เน้นความเท่าเทียมกันของคู่กรณี – คู่ความ ศาลจะเป็นผู้ชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานว่าฝ่ายใดจะน่าเชื่อถือกว่ากัน ดังนั้นคู่ความจึงต้องเอาพยานหลักฐานมายันกัน 13 Legal Procedure

14 กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
คดีมหาชน ได้แก่คดีเกี่ยวข้องกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ, ปกครอง, นักการเมืองทุจริต กระบวนการนี้มองว่ารัฐหรือคนที่ใช้อำนาจรัฐเป็นผู้ก่อความเสียหาย ประชาชนได้รับความเสียหาย ข้อมูลต่างๆอยู่ในมือของรัฐ ดังนั้นศาลจึงมีหน้าที่ในการไต่สวน 13 Legal Procedure

15 กระบวนการยุติธรรมในอนาคต
การไกล่เกลี่ยโดยตำรวจ/อาสาสมัคร/ประนีประนอมโดยศาล การใช้กระบวนการยุติธรรมเชิงฟื้นฟู การใช้กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ – ยุติธรรมชุมชน การใช้มาตรการทางเลือกในการปรับปรุงแก้ไขผู้กระทำความผิดโดยไม่ควบคุมตัว การระงับข้อพิพาทนอกศาล 13 Legal Procedure

16 ปัญหาของกระบวนการยุติธรรมของไทย
คนชายขอบไม่รู้กฎหมาย ไม่กล้ายืนยันสิทธิ การให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายไม่เพียงพอ ทัศนคติของเจ้าหน้าที่ของรัฐในกระบวนการยุติธรรม การใช้อำนาจโดยมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐ ระบบอุปถัมภ์ การคอรับชั่น การใช้กฎหมายของคนในสังคม ปัญหาในกระบวนการยุติธรรมที่แคบ จบ ☃ 13 Legal Procedure

17 กำหนดการสอบ – เวลาและห้องสอบ ดังนี้
Section 001 และ 003 (คือกลุ่มที่เรียนวันจันทร์/พฤหัส) สอบในวันเสาร์ที่ 9 มีนาคม เวลา ห้องสอบ section 001 SB 4106, 4107 Section 003 SB 4308, 4309 Section 002 (คือกลุ่มที่เรียนวันอังคาร/ศุกร์) สอบวันศุกร์ที่ 8 มีนาคม เวลา ห้องสอบ SB 4105, 4106, 1122 การจัดสอบให้นั่งตามผังที่นั่งซึ่งติดไว้หน้าห้องสอบ ข้อสอบมี 3 ข้อ (50 คะแนน) ในเนื้อหาการบรรยายตั้งแต่หลังสอบกลางภาค (รวม subject of law) ขอให้โชคดีในการสอบทุกคน ^^ 13 Legal Procedure


ดาวน์โหลด ppt Legal System Subject of Law

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google