งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการ ลำไยสีทองล้านนา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการ ลำไยสีทองล้านนา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการ ลำไยสีทองล้านนา
ชุมชนกลุ่มล้านนา โครงการ ลำไยสีทองล้านนา นำเสนอโดย คุณ อาทร วงษ์สง่า (นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว) จังหวัดลำพูน

2 นายชูศักดิ์ ตั้งกองเกียรติ นายดุลยพินิจ หงส์หิรัญ
ชุมชนกลุ่มล้านนา นายวิโรจน์ พ่วงกลัด นายวีรยุทธ สมป่าสัก นายมานพ สุขสอาด นายชูศักดิ์ ตั้งกองเกียรติ นายอาคม ศรีธิพันธุ์ นายสุรพล เจียมตน นายเอนก บุญต็ม นายดุลยพินิจ หงส์หิรัญ นายวินิจ วงกลม นายวุฒิกร ธรรมวงศ์ นายสมนึก มัทธวรัตน์ นายนพพร สามลทา นายวฤณ รังษีชัชวาล นายชาติชาย ศิริเลิศ นายประพันธ์ จันทร์ผง นายสมศักดิ์ สายยาน นายสุเทพ ใจสบาย นางสาวสุรีย์ มณีธร นายมนัสพร เดชะวงศ์ นางจำเนียร แสนราชา นางนุสรา จงเจริญ นายอาทร วงษ์สง่า จังหวัดกำแพงเพชร จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดตาก จังหวัดน่าน จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดลำปาง จังหวัดลำพูน

3 ผลสัมฤทธิ์ ผลลัพธ์ ผลผลิต
กลุ่มผู้ผลิตและเกษตรกรมีอาชีพและรายได้ที่มั่นคง ผลสัมฤทธิ์ เกษตรกรผู้แปรรูปลำไยสีทองสามารถ เพิ่มมูลค่าและจำหน่ายได้ ผลลัพธ์ กลุ่มผู้ผลิตลำไยสามารถจำหน่ายผลผลิต ได้มากขึ้นและมีตลาดรองรับที่แน่นอน ได้ลำไยสีทองที่มีคุณภาพจำนวน 5 พันตัน/ปี ผลผลิต

4 กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ
จัดตั้งกลุ่มผู้ผลิตลำไย/สร้างเครือข่าย ประชาสัมพันธ์/ชี้แจง อบรมเกษตรกรผู้แปรรูป/ผู้ผลิต กลุ่มผู้แปรรูปทำสัญญาซื้อ-ขายล่วงหน้ากับผู้ผลิตและผู้รับซื้อ มีการตรวจสอบรับรองคุณภาพผลผลิต ประเมินผลและรายงาน

5 ปัจจัยที่เอื้อต่อความสำเร็จ
กลยุทธ์หน่วยงาน ประสานหน่วยที่เกี่ยวข้อง การถ่ายทอดเทคโนโลยี,การตรวจสอบ,การจัดการด้านการตลาด,ฯลฯ ส่งเสริมการแปรรูปลำไยเนื้อสีทองให้มีคุณภาพ สังคมเกษตร เป็นแหล่งปลูกลำไย และเกษตรมีพื้นฐานในการผลิต เศรษฐกิจ สามารถเก็บผลผลิตได้นาน เพิ่มรายได้ - ตลาดมีความต้องการสูง เทคโนโลยี เกษตรกรมีความรู้และประสบการณ์ การเมือง ประสานCEO,สส.,อ.ป.ท.,อ.บ.จ.ให้สนับสนุนงบประมาณ

6 ปัจจัยนำเข้า ทรัพยากรมนุษย์ -เกษตรกรผู้แปรรูปจำนวน 100 กลุ่ม
- เกษตรกรผู้ผลิตที่จะเข้าร่วมโครงการจำนวน 10,000 คน -เกษตรกรผู้แปรรูปจำนวน 100 กลุ่ม -เลขาฯศูนย์ 100 คน

7 ปัจจัยนำเข้า เทคโนโลยีการผลิต
- เครื่องอบลำไยที่ได้มาตรฐาน 5 เครื่องต่อกลุ่ม จำนวน 500 เครื่อง - ถ่ายทอดความรู้ด้านการผลิต,การแปรรูป,การบรรจุภัณฑ์ แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ

8 - ก๊าซหุงต้มขนาด 45 กิโลกรัม จำนวน 1,000 ถัง
ปัจจัยนำเข้า วัตถุดิบ - ลำไยสดเกรด AA จำนวน 50,000 ตัน - ก๊าซหุงต้มขนาด 45 กิโลกรัม จำนวน 1,000 ถัง - กล่องบรรจุภัณฑ์ 250 กรัม จำนวน 20 ล้านกล่อง

9 - อบรมถ่ายทอดความรู้ 1,690,000 บาท
ปัจจัยนำเข้า งบประมาณ - อบรมถ่ายทอดความรู้ 1,690,000 บาท - งบลงทุน 1,000,900,000 บาท - งบดำเนินการ 2,000,000 บาท [ รวม 1,004,590,000 บาท ]

10 ลำไยสีทอง 5,000 ตัน (กก.ละ 250 บาท)
ผลตอบแทน ลำไยสีทอง 5,000 ตัน (กก.ละ 250 บาท) [ รวม 1,250,000,000 บาท ]

11 อ.ธรสิงห์ ตั้งคุปตานนท์ วิทยากร สุรมินทร์ หล้าบุญมา ผู้ช่วยฯ

12 ชุมชนกลุ่มล้านนา ขอกราบขอบพระคุณทุกๆท่าน

13 รวมรายละเอียดงบทั้งหมด 1,004,590,000 บาท
- อบรมถ่ายทอดความรู้ 1,690,000 บาท เลขา 100 คน 1ครั้ง/2วัน = 40,000 บาท กลุ่มผู้แปรรูป 100 กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน 1 ครั้ง/2 วัน = 150,000 บาท เกษตรกรผู้ปลูกลำไย 10,000 คน 1 ครั้ง/1วัน = 1,500,000 บาท - งบลงทุน 1,000,900,000 บาท ลำไยสด 50,000 ตัน/กก.15 บาท = 750,000,000 บาท เครื่องอบ 500 เครื่อง เครื่องละ 100,000 บาท = 50,000,000 บาท กล่องบรรจุภัณฑ์ 20ล้านกล่อง กล่องละ 10 บาท = 200,000,000 บาท ก๊าซ 1,000 ถัง ถังละ 900 บาท = 900,000 บาท - งบดำเนินการ 2,000,000 บาท ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ 2,000,000 บาท รวมรายละเอียดงบทั้งหมด 1,004,590,000 บาท


ดาวน์โหลด ppt โครงการ ลำไยสีทองล้านนา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google