งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางสร้างความร่วมมือในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางสร้างความร่วมมือในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางสร้างความร่วมมือในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย
รวมพลังทั้งสังคมสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย : แนวทางสร้างความร่วมมือในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย สู่การปฏิบัติการของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในระดับชาติ นพ.โสภณ เมฆธน รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย Thank you Mr. chairman/ Madam chair, Good morning/afternoon ladies and gentlemen. การประชุมคณะกรรมการบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ครั้งที่ 1/2554 วันพุธที่ 12 ตุลาคม 2554 เวลา น. ณ ห้องประชุมชัยนาทนเรนทร อาคาร 1 ชั้น 2 ตึกสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1 1

2 นโยบายรัฐบาลกับการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (โรควิถีชีวิต)
นโยบายรัฐบาล : • นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก “ข้อ 1.14 พัฒนาระบบประกันสุขภาพ ...จัดให้มีมาตรการลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพและภาวะทุพโภชนาการที่นำไปสู่การ เจ็บป่วยเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง ....” • นโยบายการพัฒนาสุขภาพของประชาชน “ข้อ จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมีเป้าหมายเพื่อลดอัตราการป่วย ตาย และผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง อย่างมีบูรณาการและครบวงจร ตั้งแต่การมีนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ จัดให้มีการสื่อสารสาธารณะของรัฐเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรรม ให้ความรู้ป้องกันโรคเพื่อการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน การให้บริการเชิงรุก ตลอดจนคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ” “ข้อ ส่งเสริมให้ประชาชนทุกระดับมีโอกาสออกกำลังกายและเล่นกีฬาเพื่อสร้างสุขภาพและพลานามัยที่ดี สร้างนิสัยความมีน้ำใจเป็นนักกีฬาและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์เพื่อหลีกเลี่ยงการหมกมุ่นมั่วสุมอบายมุขและยาเสพติด”

3 นโยบายรัฐบาลกับการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (โรควิถีชีวิต)
• นโยบายสร้างรายได้ “ข้อ ศูนย์กลางการผลิตและการค้าอาหารคุณภาพสูง...” “ข้อ การผลิตสินค้าและบริการที่มีพื้นฐานทางเทคโนโลยีมีมูลค่าสูง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม...” • นโยบายปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ “ข้อ ภาคเกษตร มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารในตลาดโลก สร้างความเข้มแข็งภาคเกษตรและสร้างความมั่นคงทางด้านอาหาร...” “ข้อ ภาคอุตสาหกรรม ยกระดับสินค้าอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป เกษตรอินทรีย์ ให้มีคุณภาพ ปลอดภัยตามมาตรฐานสากล เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อสังคม การจัดการมลพิษเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดี...” “ข้อ ภาคการท่องเที่ยว การบริการ และการกีฬา ศูนย์กลางกีฬาของภูมิภาคและโลก ศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ โครงสร้างพื้นฐาน มาตรฐาน ด้านการกีฬา การท่องเที่ยว...” “ข้อ การตลาด การค้า การลงทุน การคุ้มครองผู้บริโภค นโยบายครัวไทยสู่ครัวโลก นโยบายไทยเป็นครัวอาหารโลก...” • นโยบายโครงสร้างพื้นฐาน ระบบขนส่งมวลชน ระบบขนส่งสิ้นค้าและบริการ “ข้อ โครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง น้ำสะอาด”

4 นโยบายรัฐบาลกับการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (โรควิถีชีวิต)
• นโยบายพลังงาน “ข้อ พลังงานที่สะอาด” • นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ “ข้อ โครงข่ายสื่อสารความเร็วสูง เครือข่ายอินเทอร์เน็ต” • นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต “ข้อ 4.1 นโยบายการศึกษา...คุณภาพการศึกษา โอกาสทางการศึกษา สร้างทุนทาง ปัญญา เครือข่ายการวิจัย ผลิตและพัฒนากำลังคน” “ข้อ 4.2 นโยบายแรงงาน...คุ้มครองแรงงาน ประกันสังคม” “ข้อ 4.4 นโยบายศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม...ทุนทางวัฒนธรรม หลักธรรมในการดำรงชีวิต วิถีชีวิตและสื่อ ขจัดสื่อที่เป็นภัยสังคม ขยายสื่อดี สร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม” “ข้อ 4.5 นโยบายความมั่นคงของชีวิตและสังคม...ครอบครัวและสังคมไทยมีความมั่นคงอบอุ่น หลักประกันความมั่นคงในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ พัฒนาเด็กและเยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส”

5 นโยบายรัฐบาลกับการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (โรควิถีชีวิต)
• นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม “ข้อ 5.3 ดูแลรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมและเร่งรัดการควบคุมมลพิษ...กฎหมายสิ่งแวดล้อม การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ลดมลพิษ ” “ข้อ 5.5 ส่งเสริมและสร้างความตระหนักและจิตสำนึกทางด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม...การผลิตและบริโภคสินค้าและการบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม • นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม “ข้อ วิจัยและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ” • นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประทศ “ข้อ ส่งเสริมและพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน อาเซียน องค์การระหว่างประเทศ” • นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี “ข้อ การบริหารเชิงกลยุทธ์ในระดับชาติ บริหารงานแบบบูรณาการ บริหารงานบุคคลภาครัฐ มาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล กฎหมาย การสื่อสารสู่สาธารณะ”

6 แผนพัฒนากับการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (โรควิถีชีวิต)
(ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 : • ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน...ตัวชี้วัด “อัตราการเพิ่มของการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อโรคหัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมอง และมะเร็ง ลดลง” “อัตราการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ยาสูบ... ลดลง” แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ • นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต... เป้าหมาย/ตัวชี้วัด “อัตราการเพิ่มการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง 5 โรค ได้แก่ โรคหัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมอง และมะเร็ง” “ร้อยละของประชากรเป้าหมายที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น บุหรี่ สุรา...”

7 ข้อเสนอจาก UNGA To raise the priority and awareness, and to adopt an outcome document that addresses the key challenges related to NCD Prevention and Control, poverty and socioeconomic development Unite in the flight against NCDs Political declaration : Governments prioritize NCDs within their national health plan and strengthen health systems and accelerate implementation of the Action plan of the Global strategy for the P&C of NCDs Three thematic roundtables 1) The rising incidence, development and other challenges and the social and economic impact of NCDs and their risk factors 2) Strengthening national capacities, as well as appropriate policies, to address prevention and control of NCDs 3) Fostering international cooperation, as well as coordination, to address NCDs High-level Meeting of the United Nations General Assembly on Noncommunicable Diseases (New York, September 2011)

8 แนวทางการบูรณาการ THLS และ MDG
Goal 6 : ต่อสู้โรคเอดส์ มาลาเรีย และโรคสำคัญอื่นๆ อัตราผู้ป่วยในโรคหลอดเลือดหัวใจ (ต่อ ปชก.แสนคน) อนาคต MDG+ Goal 6: ปรับเพิ่ม ป่วย ตาย ภาวะแทรกซ้อน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ หลอดเลือดสมอง มะเร็ง Goal 1: ขจัดความยากจนและหิวโหย Risk factors, Illness-disability-death, Health cost and out of pocket, Tobacco & Alcohol, Food, BMI Goal 2 ให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาระดับประถมศึกษา School feeding programs, Physical activity, Healthy dietary, Reducing tobacco use & the harmful use of alcohol Goal 3 ส่งเสริมความเท่าเทียมกันทางเพศและส่งเสริมบทบาทสตรี Poor health and premature death for women , Caregivers Goal 4: ลดอัตราการตายของเด็ก Breastfeeding and better nutrition, Breast-milk substitutes, Complementary feeding, Smoking cessation programs, Overweight & Low birth weight Goal 5: พัฒนาสุขภาพสตรีมีครรภ์ Obesity, Diabetes, Hypertension, Cardiovascular diseases, Cervical cancer; Physical activity, diet, nutrition, mental health, Tobacco, Alcohol Goal 7: รักษาและจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน National resources, Road transportation & air pollution, Walking & cycling, Safe drinking water, Food security Goal 8: ส่งเสริมการเป็นหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาในประชาคมโลก Multisectoral and international approaches Medicines, vaccines, Technology for NCDs

9 เป้าหมายและตัวชี้วัดหลักในการพัฒนา [3 เป้าหมายหลัก, 18 ตัวชี้วัดหลัก]
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย พ.ศ เป้าประสงค์สูงสุด ประชาชน ชุมชน สังคม และประเทศ มีภูมิคุ้มกันและศักยภาพในการสกัดกั้นภัยคุกคามสุขภาพจากโรควิถีชีวิตที่สำคัญได้ เป้าหมายและตัวชี้วัดหลักในการพัฒนา [3 เป้าหมายหลัก, 18 ตัวชี้วัดหลัก] 5 โรควิถีชีวิตที่สำคัญ 1] เบาหวาน 2] ความดันโลหิตสูง 3] หัวใจ 4] หลอดเลือดสมอง 5] มะเร็ง 5 ด้าน 1] การเกิดโรค 2] ภาวะแทรกซ้อน 3] พิการ 4] ตาย 5] ภาระค่าใช้จ่าย 3 วิถีชีวิตที่พอเพียง 1] การบริโภคที่เหมาะสม 2] การออกกำลังกายที่เพียงพอ 3] การจัดการอารมณ์ได้ เหมาะสม ระยะสั้น 1-3 ปี [ ] บูรณาการความคิด สร้างความ เชื่อมั่นและการมีส่วนร่วม ขับเคลื่อนของภาคีเครือข่ายร่วม ระยะกลาง 5 ปี [ ] ปฎิบัติการเชิงรุกสู่การวางรากฐานที่ มั่นคงเชิงโครงสร้างและระบบ ระยะยาว 10 ปี [ ] สร้างความเข้มแข็งเชิงโครงสร้าง และระบบการป้องกันและ แก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน Roadmap As previously mentioned about the severity of 5 majors non-communicable chronic diseases, The National Economic and Social health Board Office, Ministry of Public Health, and Institute of Nutrition, Mahidol University together with various agencies at many knowledge-exchange platforms, formulate the long-term “Thailand Health Strategic Plan”, in empowering people, community, society and nation. This will create potential and immunity to prevent emerging health problems rooted from unhealthy lifestyles. Major targeted behavior-related diseases are directed in 4 aspects of reduction: disease, complication, death and expenditure by increasing lifestyle in 2 areas: appropriate consumption and sufficiency physical exercises for balance energy and weight. The plan comprises different phrases of implementation with concrete strategies. Strategy นโยบาย สาธารณะ สร้างสุข การขับเคลื่อนทางสังคม และ สื่อสารสาธารณะ การพัฒนา ศักยภาพ ชุมชน การพัฒนาระบบ เฝ้าระวังและ การจัดการโรค การสร้างความ เข้มแข็งของระบบ สนับสนุนยุทธศาสตร์ 9 9

10 กรอบแนวคิดความร่วมมือการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทยระดับชาติและนานาชาติ
เพิ่มวิถีชีวิตพอเพียง ลดปัญหาโรควิถีชีวิต สร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ประชาชนสุขภาพดี เมืองไทยแข็งแรง การบริโภค ที่เหมาะสม (อาหาร เครื่องดื่ม ยา บุหรี่ สุรา) ปัจจัยนำ (Predisposing Factors) ลดปัญหาโรควิถีชีวิต ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ระดับมหภาค (Macro - Environment Level) ระดับจุลภาค (Micro - Environment Level) ระดับครอบครัว (Family Environment Level) การออก กำลังกาย ที่เพียงพอ ระดับบุคคล (Individual Level) การจัดการ อารมณ์ ได้เหมาะสม ปัจจัยเอื้อ (Enabling Factors) ปัจจัยเสริม (Reinforcing Factors) ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ สุขภาพพอเพียง

11 กรอบโครงสร้างระบบบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย
นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาระดับชาติ แผนบริหารระดับชาติ สมัชชาสุขภาพ ระดับนโยบาย บูรณาการ ภาครัฐ/รัฐวิสาหกิจ แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย พ.ศ เอกภาพ ภาคเอกชน นโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนเฉพาะด้าน/องค์กร คณะกรรมการอำนวยการฯ (นายกรัฐมนตรี ประธาน) คณะกรรมการบริหารฯ (รมว.สธ. ประธาน) แผนปฏิบัติราชการ แผนปฏิบัติการเฉพาะด้าน/องค์กร สำนักงานบริหารยุทธศาสตร์ฯ ระดับบริหาร คณะอนุกรรมการรายยุทธศาสตร์ 5 คณะ คณะอนุกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติการ /คณะทำงาน แผนพัฒนาระดับภูมิภาค/เขต/จังหวัด แผนปฏิบัติการระดับจังหวัด/อำเภอ/ตำบล/ชุมชนท้องถิ่น ระดับปฏิบัติการ องค์กร/กลไกปฏิบัติการ ระดับจังหวัด ภาคประชาสังคม สถาบันวิชาชีพ สื่อมวลชน มีส่วนร่วมรับผิดชอบ ภาคประชาชน ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ผลสัมฤทธิ์ การขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติการ ระดับชาติ/นานาชาติ ระดับกลุ่มเป้าหมาย เพิ่มวิถีชีวิตพอเพียง 3 ด้าน ลดปัญหาโรควิถีชีวิต 5 โรค 5 ด้าน สร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย (Healthy Lifestyle) ประชาชนสุขภาพดี (Healthy People) เมืองไทยแข็งแรง (Healthy Thailand)

12 นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน
แนวทางสร้างความร่วมมือในการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยสู่การปฏิบัติการ ของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในระดับชาติ 1. ประกาศเจตนารมณ์และข้อตกลงร่วม ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยของภาคีเครือข่ายร่วมทุกภาคส่วน นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน

13 แนวทางสร้างความร่วมมือในการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยสู่การปฏิบัติการ ของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในระดับชาติ 2. การสร้างภาวะผู้นำเชิงนโยบายและแบบอย่างที่ดี 2.1 บทบาทหน้าที่เชิงนโยบายและปฏิบัติการรองรับยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย 2.2 ส่งเสริมและสนับสนุนวัฒนธรรมองค์กรสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทยให้แก่บุคลากร “การจัดอาหารว่างเพื่อสุขภาพ สถานที่จำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ จุดบริการน้ำดื่มสะอาด ปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สถานที่ออกกำลังกายพร้อมอุปกรณ์ การเฝ้าระวังและจัดการภาวะน้ำหนักเกิน การตรวจสุขภาพประจำปี(ปัจจัยเสี่ยงและโรค)”

14 3. จัดทำแผนปฏิบัติการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย แบบบูรณาการทุกภาคส่วน
แนวทางสร้างความร่วมมือในการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยสู่การปฏิบัติการ ของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในระดับชาติ 3. จัดทำแผนปฏิบัติการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย แบบบูรณาการทุกภาคส่วน “Thailand Healthy Lifestyle Strategic Action Plan” ใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนพัฒนา แผนปฏิบัติราชการ แผนปฏิบัติการ เฉพาะด้าน/องค์กร ระดับภูมิภาค/จังหวัด/อำเภอ/ตำบล ที่สอดคล้องรองรับ”

15 ข้อเสนอการจัดทำแผนปฏิบัติการสร้างสุขภาพดี วิถีชีวิตไทยระยะสั้นและการปฏิบัติการ (ต่อ)
1. แผนปฏิบัติการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทยระยะสั้น ที่สอดคล้องกับ Action plan for the Global Strategy for the Prevention and Control of NCDs 1.2 นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ สมัชชาสุขภาพ แผนพัฒนาเฉพาะด้านอื่นๆ เช่น อาหาร ยาสูบ อ้วน เป็นต้น 2. สังเคราะห์แผนงาน/โครงการ ระดมสมอง หาความเห็นพ้องและ ข้อตกลงร่วมของภาคีเครือข่ายระดับชาติ Policy-Strategy-Outcome Mapping Policy Direction & Outcome Challenges Project Highlight Action Plan 3. บูรณาการแผนงาน/โครงการและงบประมาณ - สปสช. - สสส. - แผนงานเครือข่ายควบคุมโรคไม่ติดต่อ - ก.สาธารณสุข - หน่วยงาน/องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ภาคประชาชน 4. นำเสนอต่อคณะกรรมการบริหารฯ คณะกรรมการอำนวยการฯ และครม.

16 แนวทางสร้างความร่วมมือในการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยสู่การปฏิบัติการ ของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในระดับชาติ 4. พัฒนากลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยสู่การปฏิบัติการระดับชาติ “จัดตั้งสำนักงานบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นศูนย์กลางประสานงานบูรณาการขับเคลื่อนการปฏิบัติการ”

17 โครงสร้างกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยระดับชาติ
คณะกรรมการอำนวยการ ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย คณะกรรมการบริหาร ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย สำนักงานบริหารยุทธศาสตร์ฯ ผู้อำนวยการ/รองผู้อำนวยการ คณะที่ปรึกษา/คณะทำงาน คณะอนุกรรรมการ นโยบายสาธารณะสร้างสุข คณะอนุกรรรมการ การพัฒนาศักยภาพชุมชน คณะอนุกรรรมการ การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์ คณะอนุกรรรมการ จัดทำแผนปฏิบัติการฯ คณะอนุกรรรมการ การขับเคลื่อนทางสังคม และสื่อสารสาธารณะ คณะอนุกรรรมการ การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง และการจัดการโรค

18 ข้อเสนอการพัฒนากลไกการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยสู่การปฏิบัติการ
แต่งตั้งคณะอนุกรรมการรายยุทธศาสตร์และจัดทำแผนปฏิบัติการ 1. คณะอนุกรรมการนโยบายสาธารณะสร้างสุข: สศช. - กรมอนามัย 2. คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนทางสังคมและสื่อสารสาธารณะ: สำนักนายกรัฐมนตรี - กรม สบส. 3. คณะอนุกรรมการพัฒนาศักยภาพชุมชน: กระทรวงมหาดไทย - กรมควบคุมโรค 4. คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบเฝ้าระวังและการจัดการโรค: กระทรวงสาธารณสุข - กรมการแพทย์ 5. คณะอนุกรรมการสร้างความเข้มแข็งของระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์: กระทรวงศึกษาธิการ – สป.สธ. 6. คณะอนุกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติการฯ: สธ. สศช. ม.มหิดล – สป.สธ.

19 แนวทางสร้างความร่วมมือในการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยสู่การปฏิบัติการ ของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในระดับชาติ 5. (ร่าง) ข้อตกลงความร่วมมือของภาคีเครือข่ายร่วมสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ในงานมหกรรมจัดการความรู้ ปี 2554 “โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวงทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนเพื่อถวายเป็นพระราชกุศล เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554” วันที่ 1-2 พ.ย ณ อาคาร อิมแพ็ค คอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ เมืองทองธานี จ.นนทบุรี โดย...รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธาน สำนักนายกรัฐมนตรี, ก.มหาดไทย, ก.ศึกษาธิการ, สศช., ก.สาธารณสุข, ม.มหิดล, สปสช., สสส.

20 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt แนวทางสร้างความร่วมมือในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google