งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง) คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2 วัตถุประสงค์ของโครงการ
1) เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่กรมทรัพยากรน้ำได้ ดำเนินการรวบรวมไว้ในช่วงปีงบประมาณ 2549 – 2551 จำนวน 70 ลุ่มน้ำสาขา 2) เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านทรัพยากรน้ำ และเชื่อมโยงเข้าสู่ ฐานข้อมูล GIS โดยให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลได้ทั้งในระดับขอบเขตการ ปกครอง และระดับลุ่มน้ำ 3) เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้ากรมทรัพยากรน้ำ ให้สามารถตรวจสอบ และจัดเก็บข้อมูลไว้ในระบบฐานข้อมูล พร้อมทั้งเชื่อมโยงข้อมูลดังกล่าวเข้ากับ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ข้อมูลในระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ต่อไป

3 ประโยชน์ที่ได้รับ 1) มีฐานข้อมูลด้านทรัพยากรน้ำในระดับพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาและลุ่มน้ำย่อย และฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ซึ่งสามารถวิเคราะห์และแสดงผลข้อมูลได้ทั้งในระดับขอบเขตการปกครอง และในระดับลุ่มน้ำ ครอบคลุมพื้นที่ลุ่มน้ำสาขานำร่องทั้ง 70 ลุ่มน้ำสาขา 2) เสริมสร้างศักยภาพเจ้าหน้าที่กรมทรัพยากรน้ำที่มีหน้าที่รับผิดชอบให้สามารถดำเนินการจัดทำฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ได้ รวมถึงสามารถวิเคราะห์ข้อมูลจากระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้

4 ขอบเขตลุ่มน้ำสาขานำร่อง 70 ลุ่มน้ำ และ
พื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานทรัพยากรน้ำภาค ลุ่มน้ำนำร่องดำเนินการระหว่าง ปี ลุ่มน้ำนำร่องดำเนินการ ปี 2551

5 แนวทางในการดำเนินงาน
ประกอบไปด้วยกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม ได้แก่ 1) การตรวจสอบความครบถ้วนและถูกต้องของข้อมูล 2) เพื่อติดตามและตรวจสอบข้อมูลที่ สทภ.1-10 3) การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและการนำเข้าข้อมูล 4) การจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 5) การวิเคราะห์และแสดงผลข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ 6) การจัดทำคู่มือและการฝึกอบรม ที่ปรึกษาและเจ้าหน้าที่ทำงานร่วมกัน

6 กรอบแนวคิดในการดำเนินโครงการ
ฐานข้อมูล ทรัพยากรน้ำ สทภ.1-10 จัดเก็บข้อมูล สถาบันที่ปรึกษา Excel, Access, ArcView แสดงผลข้อมูล ออกภาคสนาม 2 ครั้ง รับฟังปัญหาในการเก็บข้อมูล ร่วมแก้ไขปัญหาที่พบ ให้คำแนะนำการกรอกข้อมูล ให้คำแนะนำการจัดเก็บข้อมูลลงฐานข้อมูล ให้คำแนะนำในการแสดงผล อบรมการทำงานกับ GIS ในเบื้องต้น ให้คำแนะนำในการแสดงผลข้อมูลร่วมกับ GIS ให้คำแนะนำทางเทคนิคต่าง ๆ เพิ่มเติม ฯลฯ รูปแบบตาราง และ GIS หมู่บ้าน ตำแหน่ง ทรัพยากรน้ำ แบบสอบถาม ข้อมูลทรัพยากรน้ำ

7 การออกภาคสนามครั้งที่ 1
ระหว่าง 7 พ.ย. – 16 ธ.ค. 2551 สถาบันที่ปรึกษา หลังจากการออกภาคสนามครั้งที่ 1 ทาง สทภ.จะทำการจัดส่งข้อมูลกลับมายังสถาบันฯ กำหนดการส่งข้อมูลไว้ในช่วงปลายเดือน ธ.ค. 2551 ข้อมูลจะถูกนำมาตรวจสอบ วิเคราะห์-ประมวลผล เพื่อนำมาจัดทำเป็นข้อสรุปถึงสภาพปัญหาเชิงลึกที่อาจจะยังคงพบอยู่สำหรับบางสำนักงาน เพื่อนำมาจัดทำเป็นแผนสำหรับการเตรียมพร้อมในการออกภาคสนามครั้งที่ 2 ต่อไป

8

9 การออกภาคสนามครั้งที่ 2
ระยะเวลา 30 วัน ระหว่าง 15 ม.ค. – 15 ก.พ. 2552 สถาบันที่ปรึกษา หลังจากการออกภาคสนามครั้งที่ 2 ทาง สทภ.จะทำการจัดส่งข้อมูลกลับมายังสถาบันฯ กำหนดการส่งข้อมูลไว้ในช่วงปลายเดือน ก.พ. 2552 ข้อมูลจะถูกนำมาตรวจสอบ วิเคราะห์-ประมวลผลขั้นตอนสุดท้าย จัดเตรียมข้อมูลทั้งหมดสำหรับจัดเก็บในระบบฐานข้อมูลต่อไป

10 สรุปปัญหาการดำเนินการจัดทำทะเบียนแหล่งน้ำขนาดเล็ก
1) ปัญหาด้านการบริหารโครงการ - การขาดแคลนบุคลากร/งบประมาณ - การขาดแคลนเครื่องมือ-อุปกรณ์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์ และ GPS - ความเข้าใจต่อความจำเป็นและการใช้ประโยชน์จากระบบฐานข้อมูล 2) ปัญหาในการเก็บข้อมูลในภาคสนาม - การกำหนดชนิด-ประเภทของแหล่งน้ำ และหน่วยที่ใช้ - การตั้งค่าระบบพิกัดในเครื่อง GPS และระบบของแผนที่ที่ใช้ 3) ปัญหาในการจัดเก็บข้อมูล - ความล่าช้าจากการเปลี่ยนรูปแบบข้อมูลจากแบบฟอร์มเดิม - ความชำนาญในการจัดเก็บข้อมูลของบุคลากรแตกต่างกัน

11 การคลาดเคลื่อนเนื่องจากระบบพิกัด


ดาวน์โหลด ppt คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google