งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผน พัฒนาพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผน พัฒนาพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผน พัฒนาพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน
ศูนย์สารสนเทศ ส.ป.ก.

2 ฐานข้อมูลที่ดิน+แผนที่เชิงเลข ฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศ
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ส.ป.ก. ระบบข้อมูลที่ดิน เครือข่าย ระบบข้อมูลเกษตรกร วิเคราะห์ออกแบบระบบ วิเคราะห์ออกแบบระบบ ฐานข้อมูลที่ดิน รวบรวมเอกสารจัดที่ดิน บันทึก/ตรวจสอบ ฐานข้อมูลแผนที่ Scan/Digitize สร้าง ID เชื่อมโยงฐานข้อมูลที่ดิน (ระวาง/กลุ่ม,เลขแปลง) ระบบข้อมูลเกษตรกร ระบบข้อมูลที่ดิน บันทึก ตรวจสอบ ศูนย์สารสนเทศ ฐานข้อมูลเกษตรกร ระบบการบริหารจัดการ เครือข่าย เครือข่าย เชื่อมโยงหน่วยงาน เกี่ยวข้อง(เลขบัตร) ฐานข้อมูลที่ดิน+แผนที่เชิงเลข ฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศ ระบบการบริหารจัดการ ข้อมูลเกษตรกร/ยุวเกษตร/ เกษตรกรรุ่นใหม่ เชื่อมโยงหน่วยงาน เกี่ยวข้อง(ตำแหน่ง) - แผนที่เขต/แปลงที่ดิน - แผนที่เขตชลประทาน ถนน แหล่งน้ำ ชุดดิน การใช้ประโยชน์ที่ดินฯลฯ วางแผนบริหารจัดการ พัฒนาพื้นที่ กลุ่มที่ดินเกษตรกรรม การติดตามการทำประโยชน์ จัดทำ&ปรับปรุง 4-01 ข้อมูลได้รับเอกสาร ส.ป.ก. 4-01 วางแผนฟื้นฟูสภาพแวดล้อม ข้อมูลวิสาหกิจ/ไตรภาคี/สหกรณ์ พัฒนาระบบเพื่อการบริหารจัดการ เผยแพร่ข้อมูลผ่านเครือข่าย วิเคราะห์พื้นที่ด้วย LIS/GIS/RS บริการด้านองค์ความรู้ กลุ่มที่ดินชุมชน/กลุ่มที่ดินจัดซื้อ ข้อมูลความต้องการองค์ความรู้ พัฒนาบุคลากร (HRD) กลุ่มที่ดินพระราชทาน/บริจาค ข้อมูลนิคมการเกษตร/เศรษฐกิจพอเพียง ตรวจสอบติดตาม/ประเมินผลงาน กลุ่มที่ดินประเภทอื่น ที่ดิน New Area/Reshape ที่ดินสาธารณะฯ/ที่รกร้าง ที่ดินอนุญาตให้ทำประโยชน์ ข้อมูลการเพิ่มศักยภาพการปลูกพืชเศรษกิจ การตรวจสอบพื้นที่น้ำท่วม/ภัยแล้ง ฐานข้อมูลเกษตรกร ข้อมูลกลุ่มปราชญ์เกษตร การตรวจสอบพื้นที่พิพาท ข้อมูลอาสาปฏิรูปที่ดิน

3 ระบบรายงานความก้าวหน้าแผนงาน ผลงานประจำเดือนปี 2553
ศึกษา วิเคราะห์ จำแนกประเภทข้อมูล รับฟังความคิดเห็น (ส.ป.ก.จังหวัด/ส่วนกลาง) วิเคราะห์ ออกแบบ วางระบบ จัดทำโปรแกรม อบรม ติดตาม ประเมินผล พัฒนา ทดสอบระบบงาน 1. ผลงานกิจกรรมจัดที่ดิน ที่ดินรัฐ (ไฟล์ Publicxx.dbf, DPARAxx.dbf) ที่ดินชุมชน (ไฟล์ Chumxx.dbf, DChumxx.dbf) งานปรับปรุงเอกสาร 4-01ง (ไฟล์ Kxx.dbf) -ไตรมาส 1-2 ส่ง ศสท. นำเข้าระบบทุกวันพุธสัปดาห์ที่ 2 และ 4 ของเดือน -ไตรมาส 3-4 ส่งทุกวันพุธ 2. ผลงาน X-RAY ส่งก่อนวันที่ 25 ของเดือน ผลงานกิจกรรมอื่น ผู้เกี่ยวข้องรายงานในระบบ Real time สวผ. รวบรวมผลงานเสนอผู้บริหาร ทุกสิ้นเดือน

4 Road Map : ระบบภูมิสารสนเทศ(GIS)
การจัดการข้อมูล (ข้อมูลเชิงพื้นที่ &ข้อมูลอรรถาธิบาย) จัดเตรียม รวบรวม จัดเก็บ แผนที่เชิงเลข (1:4,000 , 1:50,000) ตรวจสอบ/แก้ไข/convert และปรับปรุงข้อมูล วางแผน/กำหนดรูปแบบประมวลผล เชื่อมโยงฐานข้อมูลเกษตรกร / ที่ดิน หน่วยงานภายนอก เขตการปกครอง เส้นทางคมนาคม แหล่งน้ำผิวดิน/ใต้ดิน พื้นที่ชลประทาน กลุ่มชุดดิน/ความ เหมาะสมการปลูกพืช การใช้ประโยชน์ที่ดิน พื้นที่น้ำท่วม/ภัยแล้ง หน่วยงานภายใน ขอบเขตปฏิรูปที่ดิน แปลงที่ดิน โครงสร้างพื้นฐาน ถนน แหล่งน้ำ ข้อมูลเกษตรกร ข้อมูลสนับสนุนการวางแผน/ ติดตาม/ประเมินผล ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ โครงการความร่วมมือไตรภาคี นิคมเศรษฐกิจพอเพียง โครงการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม (OECF) โครงการคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม นิคมการเกษตร โครงการวางแผนแม่บทการพัฒนาพื้นที่ วางแผนปลูกไม้เศรษฐกิจ โครงการเพิ่มศักยภาพการปลูกพืช เศรษฐกิจ (ข้าว, อ้อย, ปาล์ม,มันสำปะหลัง, ข้าวโพด) ไม่ถูกต้อง ประมวลผล / วิเคราะห์ข้อมูล การซ้อนทับข้อมูลแผนที่เชิงเลข การคำนวณทางสถิติ และ อื่นๆ ถูกต้อง พัฒนาระบบการเรียกใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศ ผ่านระบบเครือข่าย ผลการวิเคราะห์ข้อมูล แสดงข้อมูลแผนที่ (เขตปฏิรูปที่ดิน/แปลงที่ดิน/ ชุดดิน/แหล่งน้ำฯลฯ) สืบค้นและแสดงรายละเอียดข้อมูลแผนที่/ เกษตรกรจากตำแหน่งบนแผนที่ และ/หรือชื่อสกุล ข้อมูลกายภาพของพื้นที่ (ถนน เขตชลประทาน แหล่งน้ำ ชุดดิน ฯลฯ) ข้อมูลเฉพาะเรื่อง ตามความต้องการผู้ใช้ ผลการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติ (น้ำท่วม/ภัยแล้ง)


ดาวน์โหลด ppt การใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผน พัฒนาพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google