งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พ.ญ. พจมาน ศิริอารยาภรณ์ สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พ.ญ. พจมาน ศิริอารยาภรณ์ สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พ.ญ. พจมาน ศิริอารยาภรณ์ สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
การประเมินระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (Evaluation of Surveillance System) พ.ญ. พจมาน ศิริอารยาภรณ์ สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

2 เครือข่ายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ในภาพกว้าง
ระดับอำเภอ ระดับจังหวัด ระดับเขต ระดับประเทศ รพศ. รพช. สถานีอนามัย รพ. เอกชน เผยแพร่ข้อมูลรายสัปดาห์ รายเดือน รายปี สำนักงาน สาธารณสุข จังหวัด สำนักระบาดวิทยา รพท. รายงานผู้ป่วย รายงานข้อมูล สำนักงานป้องกันควบคุมโรค ก่อนจะไปดูว่าทำไมเราจึงต้องประเมินระบบเฝ้าระวัง ขอทบทวนเกี่ยวกับระบบเฝ้าระวังคร่าวๆก่อน เครือข่ายในชุมชน (อสม., อบต., อื่นๆ)

3 การดำเนินงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ในระดับพื้นที่
Treatment & Reporting ผู้ป่วย ผู้ป่วย รพ. OPD สอ./รพ.สต. แจ้งข้อมูล รายงานแม้ว่าผู้ป่วยจะเพียงแค่น่าสงสัยว่าจะเป็นโรคนั้น Prevention&Control Report 506/507 Lab HCIS IPD The process of surveillance is passive. When a patient come to hospital R506 ศูนย์ข้อมูลระบาดวิทยา ระดับอำเภอ สสจ. Investigation & Disease Containment

4 ทำไมจึงต้องประเมินระบบเฝ้าระวัง?
เพื่อศึกษาระบบเฝ้าระวังในแง่ ความสำคัญของปัญหา ประสิทธิภาพ ความคุ้มทุน Source: US CDC, 1999

5 รายละเอียดของขั้นตอนการทำงาน
การประเมินผลโครงการ ผลลัพธ์ Output ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ Outcome บุคลากร งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ การบริหารจัดการ Impact รายละเอียดของขั้นตอนการทำงาน

6 คำถามที่ต้องตอบ เมื่อจะทำการประเมินระบบเฝ้าระวัง
เรื่องที่จะทำการประเมิน แง่มุมที่จะประเมิน เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินว่าผ่านมาตรฐาน

7 คำถามที่ต้องตอบ เมื่อจะทำการประเมินระบบเฝ้าระวัง
ใช้ข้อมูลหรือหลักฐานอะไรในการบอกว่าระบบทำงานได้ดีหรือไม่ ข้อสรุปที่ได้จากการประเมินคืออะไร มีคำแนะนำอย่างไรในการปรับปรุงระบบเฝ้าระวัง

8 สัดส่วนพื้นฐานของผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ต่อผู้ป่วยนอกทั้งหมดย้อนหลัง 3 ปี เปรียบเทียบ 3 โรงพยาบาล

9 ขั้นตอนการประเมินระบบเฝ้าระวัง

10 นำผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholders) เข้าร่วมในกระบวนการประเมิน
ผู้ที่อยู่ในกระบวนการดำเนินงานของระบบเฝ้าระวัง ผู้ที่ได้รับประโยชน์หรือผลกระทบจากระบบเฝ้าระวัง ผู้ที่เป็นเป้าหมายหลักที่จะใช้ผลจากการประเมินระบบเฝ้าระวัง ควรนำผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียเหล่านี้มาร่วมกำหนดคำถามและวัตถุประสงค์ของการประเมิน

11 II. ศึกษารายละเอียดของการดำเนินงานเฝ้าระวังในโรค/ระบบที่จะประเมิน
ความสำคัญทางสาธารณสุขของโรค/ระบบที่จะทำการประเมิน วัตถุประสงค์และขั้นตอนการดำเนินงาน ทรัพยากรที่ใช้ในการดำเนินงานของระบบเฝ้าระวัง

12 II.ก. ความสำคัญทางสาธารณสุขของโรค/ระบบที่จะทำการประเมิน
ขนาดของปัญหา : จำนวนผู้ป่วย อัตราการเกิดโรค (incidence) ความชุกของโรค (prevalence) ความรุนแรงของปัญหา : อัตราตาย อัตราป่วยตาย อัตราการนอนโรงพยาบาล ความสามารถในการป้องกันโรค ความสนใจของสังคม

13 II.ข. วัตถุประสงค์และขั้นตอนการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ของระบบเฝ้าระวัง แนวทางการใช้ประโยชน์จากข้อมูลเฝ้าระวัง นิยามผู้ป่วย โครงสร้างของระบบเฝ้าระวัง ระดับของการบูรณาการกับระบบเฝ้าระวังโรคอื่นๆ การไหลเวียนข้อมูล ส่วนประกอบต่างๆของระบบ ประชากรที่อยู่ภายใต้การเฝ้าระวัง ความถี่ของการเก็บข้อมูล ข้อมูลที่เก็บและวิธีการเก็บข้อมูล…

14 II.ค. ทรัพยากรที่ใช้ในการดำเนินงานของระบบเฝ้าระวัง
บุคลากร งบประมาณ ทรัพยากรอื่นๆ การฝึกอบรม วัสดุ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่นๆ ค่าเดินทาง ค่าใช้จ่ายอื่นๆที่เกี่ยวข้อง (เช่น ค่าโทรศัพท์ อินเตอร์เน็ต การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ การดูแล/ซ่อมบำรุงวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ)

15 III. การกำหนดรูปแบบการประเมิน
กำหนดวัตถุประสงค์ย่อยของการประเมินฯ เช่น ความครอบคลุม ความทันเวลา เลือกรูปแบบการศึกษาที่เหมาะสมสำหรับการประเมินฯ กำหนดมาตรฐานสำหรับใช้ในการประเมินประสิทธิภาพของระบบเฝ้าระวัง กำหนดทีมงาน เครื่องมือ งบประมาณที่จะใช้

16 IV. การรวบรวมข้อมูล ศึกษาการใช้ประโยชน์จากข้อมูลเฝ้าระวัง
ศึกษาคุณลักษณะต่างๆของระบบเฝ้าระวัง (System attributes) I. เชิงปริมาณ II. เชิงคุณภาพ - Data quality - Acceptability Sensitivity - Simplicity Predictive value positive - Flexibility Representativeness - Stability Timeliness

17 การไหลเวียนของข้อมูลสำหรับระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ในโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง
สสจ. สสอ. โรงพยาบาล ส่งข้อมูลทาง Internet Fax/ โทรแจ้งเมื่อสงสัย H1N1 สอ./รพ.สต. เวชกรรมสังคม โทรแจ้งเมื่อสงสัย H1N1 อสม. ดึงข้อมูลผู้ป่วยเข้าสู่ระบบ 506 ดึงข้อมูลผู้ป่วยเข้าสู่ระบบ 506 This slide shows the system in Nakhon Ping hospital. Before influenza A(H1N1) 2009 outbreak period, 506 reports were extracted from computerized data of OPD or IPD by social medicine section, and then were further sent to PHO by e-filing system. !!! At district level, health volunteer screened the suspected patient and send to health center. If health center diagnosed influenza, they would send the 506 report to DHO. DHO compiled the report and sent to PHO by . For outbreak response, PHO might join with DHO or hospital, depend on the responsible area. At the district level, health center and health volunteer of the affected area also joined the response team. !!! During the outbreak period, additional system was added for patients that suspected H1N1. OPD and IPD nurses made direct call to social medicine section when they found the suspected patients. Then, epidemiological staff of this section sent notification form of the patients to PHO by fax or . !!! !!! When pandemic of H1N1 was subsided, OPD and IPD nurses only make a direct call to social medicine section for the patient that were sent for PCR. OPD IPD การส่งข้อมูล การแจ้งข้อมูลย้อนกลับ

18 ข้อมูลเพิ่มเติมในการทำความเข้าใจกับระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ในโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง
ข้อมูลผู้ป่วย Influenza (H1N1) 2009 ไม่ถูกส่งให้สสอ.แต่โรงพยาบาลจะส่งตรงไปที่สสจ. เป็นผลให้การแจ้งข้อมูลผู้ป่วยไปยังระดับตำบลมีความล่าช้า การลงรหัส ICD10 มีความผิดพลาด ทำให้ข้อมูลผู้ป่วยที่ถูกดึงเข้าสู่ระบบ 506 มีความคลาดเคลื่อน This slide shows the system in Nakhon Ping hospital. Before influenza A(H1N1) 2009 outbreak period, 506 reports were extracted from computerized data of OPD or IPD by social medicine section, and then were further sent to PHO by e-filing system. !!! At district level, health volunteer screened the suspected patient and send to health center. If health center diagnosed influenza, they would send the 506 report to DHO. DHO compiled the report and sent to PHO by . For outbreak response, PHO might join with DHO or hospital, depend on the responsible area. At the district level, health center and health volunteer of the affected area also joined the response team. !!! During the outbreak period, additional system was added for patients that suspected H1N1. OPD and IPD nurses made direct call to social medicine section when they found the suspected patients. Then, epidemiological staff of this section sent notification form of the patients to PHO by fax or . !!! !!! When pandemic of H1N1 was subsided, OPD and IPD nurses only make a direct call to social medicine section for the patient that were sent for PCR.

19 ประโยชน์ที่ได้จากระบบเฝ้าระวัง (Usefulness)
บอกการใช้ประโยชน์จากข้อมูลเฝ้าระวังที่ได้ทำจริงๆ ควรดูว่าการนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์เหล่านั้นไปด้วยกันกับวัตถุประสงค์ของระบบเฝ้าระวังหรือไม่

20 ตัวอย่าง: การใช้ประโยชน์จากระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่จังหวัดเชียงใหม่
สสจ. ใช้ข้อมูลเพื่อการปรับยุทธวิธีในการป้องกันควบคุม โรค ใช้ติดตามแนวโน้มของการระบาด โรงพยาบาล เพื่อติดตามสถานการณ์และปรับแผนการดำเนินงาน สร้างความรู้ใหม่สำหรับการใช้กำหนด Clinical practice guideline และการหาหัวข้อวิจัย

21 Quantitative attributes (คุณลักษณะเชิงปริมาณ)
Sensitivity Predictive value positive (PVP) Data quality Representativeness Timeliness

22 ปรากฏการณ์ยอดภูเขาน้ำแข็งในระบบเฝ้าระวังเชิงรับ
จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับรายงาน จำนวนผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยในชุมชน

23 ธรรมชาติของระบบเฝ้าระวังเชิงรับ (Passive Surveillance)
ความครอบคลุมของการรายงานไม่ร้อยเปอร์เซ็นต์ การรายงานผู้ป่วยอาจไม่ทันเวลา ต้องระมัดระวังเกี่ยวกับความถูกต้องของข้อมูล คุณภาพของข้อมูลขึ้นกับจำนวนบุคลากร ผู้ป่วยที่ได้รับรายงานอาจไม่ตรงกับนิยามผู้ป่วยของระบบเฝ้าระวัง มักจะได้รับรายงานจำนวนผู้ป่วยต่ำกว่าจำนวนที่มีอยู่จริงในชุมชน

24 ความครบถ้วน/ความไวของการรายงาน (Sensitivity)
สามารถแบ่งเป็น 2 ระดับ: ความครบถ้วนของการรายงานจำนวนผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง (coverage of case reports) ความสามารถในการตรวจจับการระบาดในชุมชนของระบบเฝ้าระวัง

25 ความครบถ้วน/ความไวของการรายงาน
โรคที่พบในพื้นที่ที่ศึกษา (กำหนดด้วยนิยามผู้ป่วย) + - โรคที่ถูกแจ้งมาในระบบรายงาน A Case reported B Non-case reported A+B C Case not reported D Not reported C+D A+C B+D Sensitivity (coverage) = A/(A+C)

26 Sensitivity of Chikungunya surveillance report
Met case definition Not met case definition Report 506 383 49 Not report 506 248 1088 Total 631 1137 This slide is Sensitivity of Chikungunya surveillance report using case definition 1 follow actual practice in 5 hospitals. Overall, the patient who met case definition 1 were 631 cases. Of them, 383 cases were reported in 506, make the sensitivity in 5 hospitals as 60 percents. Sensitivity in 5 hospitals = 383/631 *100 = 60%

27 Sensitivity of surveillance report by studied hospital
% This is result of sensitivity report by studied hospital follow actual practice. All hospitals used doctor diagnosis, except Pakpayune hospital used BOE case definition We found that Kuankanun was highest sensitivity 84% But other hospitals were about 60% or lower . The lowest one was Bangkaew hospital, 39% hospital

28 Sensitivity of Influenza surveillance, Chiang Mai, 2010
%

29 ความถูกต้องของการรายงาน/ ค่าพยากรณ์บวกของระบบเฝ้าระวัง (Predictive value positive)
ดูว่าในกลุ่มที่ถูกรายงานว่าเป็นโรคที่เราศึกษา จะมีสัดส่วนของผู้ที่เป็นโรคนั้นๆ (ที่ถูกต้อง) อยู่เท่าไหร่ PVP บอกสามารถในการทำงานของระบบเฝ้าระวังในอีกแง่มุมหนึ่ง

30 ความถูกต้องของการรายงาน (PVP)
โรคที่พบในพื้นที่ที่ศึกษา (กำหนดด้วยนิยามผู้ป่วย) + - โรคที่ถูกแจ้งมาในระบบรายงาน A Case reported B Non-case reported A+B C Case not reported D Not reported C+D A+C B+D PVP= A/(A+B)

31 PVP of Chikungunya surveillance report
Met case definition Not met case definition Total Report 506 383 49 432 Not report 506 248 1088 1336 PVP of Chikungunya surveillance report in 5 hospitals follow actual practice From totally 432 cases that was report as chik in 506, 383 cases met case definition 1. PVP of surveillance report in 5 hospitals were 89 percents. PVP in 5 hospital = 383/432 *100 = 89 %

32 PVP of influenza surveillance, Chiang Mai, 2010

33 คุณภาพข้อมูลของระบบเฝ้าระวัง (Data quality)
บอกความครบถ้วนและถูกต้องของข้อมูลเฝ้าระวัง มักจะประเมินในตัวแปรหลักๆ เช่น อายุ เพศ วันเริ่มป่วย

34 Data quality of Chikungunya surveillance, Pattalung province
Variables Range Median Gender 97-100 100 Age (+/- 1 day) 88-100 98 Onset date (not different > 3 days) 40-92 76 The result of data quality, data quality about gender was 97 to 100 %, age 88 to 100% and onset date not different with 506 data for more than 3 days 40 to 92% median 76%. Because the data quality of onset date was low, we will go into the detail of each hospital.

35 ความสามารถในการเป็นตัวแทนของระบบเฝ้าระวัง (Representativeness)
ประเมินว่าข้อมูลเฝ้าระวังสามารถเป็นตัวแทนของสิ่งที่น่าจะเกิดขึ้นจริงได้แค่ไหนในแง่แนวโน้มและการกระจายของโรค มักจะดูในแง่ของบุคคล เวลา สถานที่

36 Representativeness of age distribution
in AIDS surveillance, Sukhothai, 2003 Comparison of age groups of cases between Surveillance reports and active case finding from medical records, we found the same distribution or good representativeness. Most of cases were 25 to 39 years old in both surveillance and finding. Source: Darin Areechokchai, 2003

37 Representativeness of case’s occupation
in AIDS surveillance, Sukhothai, 2003 Comparison of occupations of cases between Surveillance reports and active case finding, we found good representativeness in occupation. Most of cases were employee and farmer in both surveillance and finding. Source: Darin Areechokchai, 2003

38 Representativeness of incidence rates by district,
AIDS surveillance, Sukhothai, 2003 Comparison of case rates per 100,000 population by district between surveillance and active case finding. Case rate representativeness was not good to identified high problem areas such as Tungsaleam and Sawankalok district. Source: Darin Areechokchai, 2003

39 ความทันเวลาของระบบเฝ้าระวัง (Timeliness)
บอกระยะเวลาที่ใช้ในแต่ละขั้นตอนของระบบเฝ้าระวัง เช่น เวลาจากการวินิจฉัยถึงการรายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง ควรประเมินในแง่ความทันเวลาในการรายงานข้อมูลเพื่อใช้ในการควบคุมโรค (information for action)

40 Epidemiological Surveillance and Response (1)
NORMAL E.2 Tables Graph Chart Map E.1 E.0 Time Place Person ANALYSIS & INTERPRETATION E.3 506/507 Report E.4 ABNORMAL EPIDEMIOLOGICAL STUDY INVESTIGATION RECOMMENDATION & ACTION Review other outbreaks and other sources of information

41 ตัวอย่าง:การประเมินความทันเวลาของระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่จังหวัดเชียงใหม่
ประเมินใน 2 ด้าน คือ – ความทันเวลาของการรายงาน และความทันเวลาของการตอบสนอง สสจ. 6 วัน 3 วัน This slide shows the system in Nakhon Ping hospital. Before influenza A(H1N1) 2009 outbreak period, 506 reports were extracted from computerized data of OPD or IPD by social medicine section, and then were further sent to PHO by e-filing system. !!! At district level, health volunteer screened the suspected patient and send to health center. If health center diagnosed influenza, they would send the 506 report to DHO. DHO compiled the report and sent to PHO by . For outbreak response, PHO might join with DHO or hospital, depend on the responsible area. At the district level, health center and health volunteer of the affected area also joined the response team. !!! During the outbreak period, additional system was added for patients that suspected H1N1. OPD and IPD nurses made direct call to social medicine section when they found the suspected patients. Then, epidemiological staff of this section sent notification form of the patients to PHO by fax or . !!! !!! When pandemic of H1N1 was subsided, OPD and IPD nurses only make a direct call to social medicine section for the patient that were sent for PCR. สสอ. รพ. 24 ชม. การตอบสนอง

42 ความทันเวลาของการรายงานจากรพ. ถึงสสจ
ความทันเวลาของการรายงานจากรพ.ถึงสสจ. สำหรับระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่จังหวัดเชียงใหม่ (ค.ศ & 2010) Nakhon Ping Fang Doi Lo McCormick 2009 2010 มัธยฐาน (วัน) 8 7 10 11 พิสัย 2-33 3-47 2-24 3-37 0-2 0-3 6-36 9-20 This slide showed median and range of reporting time from each hospital to PHO. From the table, Doi lo had the lowest median and range of reporting time, whereas the other 3 hospitals had median reporting time around 7-11 days. Doi Lo was outstanding because Doi Lo had one skilful epidemiologist and very good SRRT team. In addition, Doi Lo also had the lowest workload when we compared all 4 hospitals

43 II. Qualitative attributes (คุณลักษณะเชิงคุณภาพ)
ความยอมรับในระบบเฝ้าระวัง (Acceptability) ความยากง่ายของระบบเฝ้าระวัง (Simplicity) ความยืดหยุ่นของระบบเฝ้าระวัง (Flexibility) ความมั่นคงของระบบเฝ้าระวัง (Stability)

44 ความยอมรับในระบบเฝ้าระวัง (Acceptability)
ความยอมรับโดยบุคคลและองค์กรในการเข้าร่วมในระบบเฝ้าระวัง โรงพยาบาล: แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุข หน่วยงานสาธารณสุข: เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยา ผู้บริหารสาธารณสุข

45 ตัวอย่าง: การยอมรับในระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ จังหวัดเชียงใหม่
ผู้บริหารในระดับสสจ.ให้ความสำคัญกับข้อมูลเฝ้าระวังละนำมาใช้ในการดำเนินกิจกรรมป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยง พยาบาลให้ความร่วมมือในการรายงานผู้ป่วย influenza A(H1N1) 2009 ทันที นักระบาดวิทยาในระดับจังหวัดและอำเภอเห็นว่าระบบเฝ้าระวังเป็นสิ่งที่สำคัญและมีประโยชน์ ปัญหาที่พบคือแพทย์ไม่ค่อยมีคนที่รู้จักระบบเฝ้าระวังและไม่ค่อยให้ความสำคัญ

46 ความยากง่ายของระบบเฝ้าระวัง (Simplicity)
ความยากง่ายในการดำเนินการทั้งในแง่โครงสร้างและกระบวนการทำงาน ระบบเฝ้าระวังที่ดีควรมีความง่ายในการดำเนินการ แต่ก็ต้องสามารถตอบวัตถุประสงค์ของระบบฯ

47 ตัวอย่าง: ความยากง่ายของระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ จังหวัดเชียงใหม่
ขั้นตอนการดำเนินงานไม่ซับซ้อน คนอื่นสามารถมาช่วยทำงานแทนได้เมื่อจำเป็น สสจ.เป็นศูนย์กลางในการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลทั้งระบบไข้หวัดใหญ่เดิม และระบบ influenza A(H1N1) 2009 ปัญหาที่พบคือในช่วงแรกของการระบาด รพ.ส่งข้อมูลให้สสจ.โดยการแฟกซ์ และสสจ.ส่งให้สำนักระบาด key ข้อมูลเองทั้งหมด

48 ความยืดหยุ่นของระบบเฝ้าระวัง (Flexibility)
ระบบที่ยืดหยุ่น คือสามารปรับให้มีการเพิ่มเติมข้อมูลที่ต้องการได้โดยไม่ต้องใช้เวลา บุคลากร และงบประมาณเพิ่มขึ้นมากนัก ตัวอย่างเช่นกรณีที่ต้องมีการเพิ่มโรคใหม่ หรือการปรับนิยามผู้ป่วย เป็นต้น

49 ตัวอย่าง: ความยืดหยุ่นของระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ จังหวัดเชียงใหม่
ระบบเฝ้าระวังเดิมที่มีอยู่สามารถปรับให้รองรับโรคใหม่ได้โดยไม่ต้องใช้ทรัพยากรและเวลาเพิ่มมากนัก ในช่วงการระบาดพยาบาลตึกผู้ป่วยนอกสามารถบริหารจัดการให้เกิดการโทรแจ้งงานระบาดฯได้ทันทีเมื่อแพทย์สงสัย influenza A(H1N1) 2009 ส่วนที่เป็นปัญหาคือในช่วงต้นๆของระบบใหม่ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องค่อนข้างสับสนกับวิธีการรายงาน

50 ความมั่นคงของระบบเฝ้าระวัง (Stability)
หมายถึงความสามารถในการดำเนินงานของระบบโดยไม่มีการสะดุด ล่ม ในสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ปัจจัยที่อาจมีผลกระทบต่อความมั่นคงของระบบ: นโยบายของผู้บริหาร งบประมาณ บุคลากรที่มีความรู้และประสบการณ์ การปรับโครงสร้างของระบบสุขภาพ เป็นต้น

51 ตัวอย่าง: ความมั่นคงของระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ จังหวัดเชียงใหม่
ผู้บริหารส่งเจ้าหน้าที่ไปอบรมเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มความรู้เกี่ยวกับโรคใหม่ บางโรงพยาบาลมีการจัดเตรียมงบประมาณเพื่อจ่ายเป็นค่าตอบแทนในการทำงานล่วงเวลา บางโรงพยาบาลมีการจัดประชุม/อบรมเกี่ยวกับระบบเฝ้าระวังเพื่อให้เจ้าหน้าที่ได้รับข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของระบบ ปัญหาที่พบคืองบประมาณไม่เพียงพอในการดำเนินการควบคุมโรค โดยเฉพาะในระดับสสอ.และสอ. มีเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาไม่เพียงพอ โดยเฉพาะในช่วงที่เกิดการระบาด

52 สรุปขั้นตอนการประเมินระบบเฝ้าระวัง
เลือกโรคที่จะประเมิน/ นำผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เข้าร่วมในการวางแผนการประเมิน ศึกษาภาพรวมของระบบที่จะประเมิน สิ่งที่ถูกวางแผนไว้ว่าควรจะเป็นแบบไหน สิ่งที่เกิดขึ้นจริงในพื้นที่ เลือกว่าประเมินคุณลักษณะด้านไหนของระบบเฝ้าระวัง & ประเมินการใช้ประโยชน์ของระบบฯ สรุปและให้ข้อเสนอแนะ

53 คำถามที่พบบ่อย ในการประเมินระบบเฝ้าระวัง เราจำเป็นต้องประเมินคุณลักษณะทุกด้านหรือไม่?

54 หนังสือ/ เอกสารแนะนำ US CDC. Updated Guidelines for Evaluating Public Health Surveillance Systems US CDC. Framework for Program Evaluation in Public Health Steven M. Teutsch and R. Elliott Churchill. Principles and Practice of Public Health Surveillance , 2nd Ed.

55 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt พ.ญ. พจมาน ศิริอารยาภรณ์ สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google