งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทิศทางการประเมินในอนาคต วันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทิศทางการประเมินในอนาคต วันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทิศทางการประเมินในอนาคต วันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
และเทคนิควิธีการประเมินคุณภาพ วันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 นาวาตรีหญิง ดร. กิตติยา เอ็ฟฟานส รองผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

2 QA & การเปลี่ยนแปลงของมทร. พระนคร

3 “Change Theory” “Outside In” “Inside Out”

4 “IT IS NOT THE STRONGEST SPECIES THAT SURVIVE, OR THE MOST INTELLIGENT, BUT THE MOST RESPONSIVE TO CHANGE.” Charls Davin (อ้างถึงใน บดินทร์ วิจารณ์, 2547)

5 “CHANGE OR DIE.” John Naisbett (อ้างถึงใน Wysocki R., K et al., 2000)

6 ……If American can, why can’t we?
If Japan can, why can’t we? ……If American can, why can’t we?

7 Learning Organization
Senge (1990) = Mr. LO “สถานที่ซึ่งทุกคนสามารถขยายศักยภาพของตนเองได้อย่างต่อเนื่อง สามารถสร้างผลงานตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ เป็นที่ซึ่งเกิดรูปแบบการคิดใหม่ๆ หลากหลายมากมาย ที่ซึ่งแต่ละคนมีอิสระที่จะสร้างแรงบันดาลใจ และเป็นที่ซึ่งทุกคนต่างก็เรียนรู้วิธีการเรียนรู้ร่วมกัน”

8 ลักษณะขององค์กรการเรียนรู้ 5 ประการ
ลักษณะขององค์กรการเรียนรู้ 5 ประการ บุคคลเรียนรู้เป้าหมายขององค์กร ไม่นิ่งนอนที่จะวัดระยะห่างจากเป้าหมาย กลยุทธ์แบบ “win-win”ไม่ห่างกาย วิสัยทัศน์ที่ใช้ต้องร่วมมอง การทำงานประสานกันทั่วทุกฝ่าย ความรู้ได้ถ่ายทอดถ้วนทั้งผอง วิธีคิดนั้นไซร้ให้จับจอง มองเป็นระบบครบวงจร กิตติยา เอ็ฟฟานส (2548)

9 ผลการวิเคราะห์ยืนยันโมเดลการวัดวัฒนธรรมคุณภาพ
VISION ผลการวิเคราะห์ยืนยันโมเดลการวัดวัฒนธรรมคุณภาพ EX_INFO LONGTERM REFLECT ] QUALITY CULTURE CONTINUE COLLAB IBM SYSTEM 2 = 0.36, df =35, p-value = 1.00, RMSEA = 0.000 COST

10 โมเดลการวัดวัฒนธรรมคุณภาพ
3. VISION โมเดลการวัดวัฒนธรรมคุณภาพ EX_INFO LONGTERM REFLECT ] QUALITY CULTURE 1.CONTINUE LO 4. COLLAB IBM 5. SYSTEM COST

11 ระบบการประเมินรอบสอง
หมวด 6 แห่ง พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติได้กำหนดให้ สมศ. ประเมินสถานศึกษาทุกระดับและทุกประเภท การประเมินรอบสองเป็นการประเมินโดยใช้มาตรฐานขั้นต่ำ การประเมินใช้หลักการ Tailor made มุ่งประเมินตามจุดเน้นของ แต่ละกลุ่มสถาบัน มีการออกแบบการประเมินที่ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์มากกว่า ปัจจัยนำเข้า/กระบวนการ

12 ระบบการประเมินรอบสอง
ในแต่ละมาตรฐานมีจำนวนตัวบ่งชี้ร่วมและตัวบ่งชี้เฉพาะ การประเมินในแต่ละตัวบ่งชี้ใช้เกณฑ์ผสมระหว่างอิงเกณฑ์ (ร้อยละ 60) และอิงสถาบัน (ร้อยละ 40) จัดทำเกณฑ์ในการให้คะแนนในบางตัวบ่งชี้ผันแปรไป ตามแต่ละประเภท มีการตัดสินผลการประเมินทั้งระดับมาตรฐาน ระดับกลุ่มสาขาวิชา และระดับสถาบัน

13 ระบบการประเมินรอบสาม
การจัดกลุ่มสถาบัน 4 กลุ่มเช่นเดียวกับ สกอ. การประเมินเน้นผลลัพธ์ ต่อกระบวนการ 70 ต่อ 30 ส่งเสริมให้เกิดการใช้ Automated QA ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วน โดยเฉพาะผู้ประกอบการและ สภาวิชาชีพเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการประเมิน

14 ทิศทางการประเมินในอนาคต วันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
และเทคนิควิธีการประเมินคุณภาพ วันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 นาวาตรีหญิง ดร. กิตติยา เอ็ฟฟานส รองผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)


ดาวน์โหลด ppt ทิศทางการประเมินในอนาคต วันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google