งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สามารถดำรงสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับแต่ละกลุ่มของจุลินทรีย์ได้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สามารถดำรงสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับแต่ละกลุ่มของจุลินทรีย์ได้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ข้อดีของการย่อยสลายภายใต้สภาวะไร้ออกซิเจนแบบสองขั้นตอน (anaerobic digestion)
สามารถดำรงสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับแต่ละกลุ่มของจุลินทรีย์ได้ ลดขนาดถังหมักมีผลให้ประหยัดค่าใช้จ่าย อัตราการเกิดก๊าซชีวภาพมีเปอร์เซ็นต์ของก๊าซมีเทนสูง เหมาะกับการติดตั้งร่วมกับระบบที่มีอยู่แล้ว ลดองค์ประกอบของไนโตรเจนของน้ำเสียที่ออกจากระบบ ลดเวลาในการย่อยสลาย โดยที่จุลินทรีย์ยังสามารถทำงานได้ในอัตราสูง

2 ข้อเสียของการย่อยสลายภายใต้สภาวะไร้ออกซิเจนแบบสองขั้นตอน (anaerobic digestion)
ต้องการควบคุมโดยผู้ชำนาญการ (need for skill operator) ต้องมีอุปกรณ์เพิ่มขึ้นเพื่อใช้สำหรับตรวจสอบ ติดตามและควบคุม (Additional instrument for monitoring and control)

3

4

5

6

7

8

9

10

11 การลดปริมาณ COD HRT(days) Influent COD (mg/l) Effluent COD (mg/l)
COD removal (%) 15 36,739 2,318 93.69 10 30,515 2,797 90.83 8 35,577 4,029 88.68

12 การลดปริมาณของแข็งทั้งหมด (total solid,TS)
HRT(days) Influent TS (mg/l) Effluent TS (mg/l) TS removal (%) 15 3,680 462 87.45 10 3,324 697 79.03 8 3,580 949 73.49

13 การลดปริมาณของแข็งระเหยทั้งหมด (total volatile solids,TVS)
HRT(days) Influent TVS (mg/l) Effluent TVS (mg/l) TVS removal (%) 15 2,836 161 94.32 10 2,653 310 88.32 8 2,713 404 85.11

14 การลดปริมาณของแข็งแขวนลอย (suspended solids,SS)
HRT (days) Influent SS (mg/l) Effluent SS (mg/l) SS removal (%) 15 3,013 132 95.62 10 2,916 236 91.91 8 3,492 393 88.75

15

16 ค่าเฉลี่ยความสัมพันธ์ระหว่างการผลิตก๊าซชีวภาพและการผลิตก๊าซมีเทนกับ (ภายใต้สภาวะการทดลอง)
HRT (days) Total gas (l/d) Methane gas Methane (%) 15 4.28 2.64 64.91 10 8.67 8.10 81.43 8 15.87 11.86 67.78

17 Total gas production (l/d)
ค่าเฉลี่ยความสัมพันธ์ระหว่างค่า HRT และ OLR กับปริมาณก๊าซชีวภาพทั้งหมดที่เกิดขึ้นและประสิทธิภาพการกำจัดค่า COD HRT (days) Total gas production (l/d) COD removal (%) 15 4.28 93.69 10 8.67 90.83 8 15.87 88.68

18

19

20

21

22

23

24 เปรียบเทียบผลการทดลองที่ได้กับการศึกษาที่ผ่านมา
ประสิทธิภาพการกำจัดสารอินทรีย์ ผลการศึกษาของ สละ(2540) ผลการทดลอง ประสิทธิภาพการกำจัดค่า COD 96.04% 93.69% ประสิทธิภาพการกำจัดค่าTS 85.25% 87.45% ปริมาณก๊าซชีวภาพ - l/d ประสิทธิภาพของระบบ เครื่องกรองไร้ออกซิเจน: ขึ้นอยู่กับปริมาณการยึดเกาะของจุลินทรีย์กับพื้นผิวตัวกลาง ถังหมักไร้ออกซิเจนแบบ 2 ขั้นตอน: ไม่มีปัญหาการยืดเกาะ

25 เปรียบเทียบผลการทดลองที่ได้กับการศึกษาที่ผ่านมา
ประสิทธิภาพของระบบ ผลการศึกษาของ อาริยา (2547) ผลการทดลอง ประสิทธิภาพการกำจัดค่า COD 91.13% 93.69% ประสิทธิภาพการกำจัดค่า TS 84.34% 87.45% ประสิทธิภาพการกำจัดค่า TVS 89.29% 94.32% ประสิทธิภาพการกำจัดค่า SS 83.93% 95.62% % CH4 61.26% 81.83%


ดาวน์โหลด ppt สามารถดำรงสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับแต่ละกลุ่มของจุลินทรีย์ได้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google