งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะอย่าง สมเหตุผลในโรคติดเชื้อทางเดิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะอย่าง สมเหตุผลในโรคติดเชื้อทางเดิน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 แนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะอย่าง สมเหตุผลในโรคติดเชื้อทางเดิน
หายใจส่วนบน/ท้องเสีย/บาดแผลฉีกขาด

3 ยาปฏิชีวนะเป็นยาอันตราย
คำเตือน 1.ห้ามใช้ในผู้ป่วยแพ้ยานี้ 2.ยานี้อาจทำให้เกิดอาการแพ้และเป็นอันตรายถึงตายได้ 3.หากเกิดอาการผื่นแดง ระคายเคืองหรือบวมให้หยุดยาและปรึกษาแพทย์

4 Antibiotic associated colitis (AAC)
เกิดจาก Clostridium difficle toxin อาการ: ท้องเสีย,ปวดท้อง สาเหตุ: overgrowth ของเชื้อ Clostridium difficle ยาที่เกิด: ampicillin,clindamycin,cephalosporin การรักษา: Vancomycin

5 Antibiotic associated colitis (AAC)

6 Antibiotic associated colitis (AAC)

7 Antibiotic associated colitis (AAC)

8 Stevens-Johnson syndrome
เกิดจากการแพ้ยา ยาที่พบบ่อย: penicillin, sulfonamides มีผื่นแดงทั่วร่างกายร่วมกับการอักเสบของเยื่อบุในช่องปาก,ตา ทำให้ตาบอดได้

9 Stevens-Johnson syndrome

10 Toxic-epidermal necrolysis
มีการหลุดลอกของผิวหนังเป็นตุ่มพองน้ำ ยาที่พบบ่อย: penicillin, sulfonamides เสียชีวิตจากภาวะติดเชื้อแทรกซ้อน

11 Toxic-epidermal necrolysis

12 Toxic-epidermal necrolysis

13 ANAPHYLAXIS Rash, angioedema Bronchospasm Shock

14

15

16

17

18

19 การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างพร่ำเพรื่อ
ทำให้เชื้อดื้อยาอย่างรวดเร็ว การดื้อยาทำให้ประชาชนทุกคนอยู่ในอันตราย

20 Methicillin-Resistant Staphylococus aureus ( MRSA )
Penicillin-Resistant Streptococus pneumoniae ( PRSP ) Vancomycin-Resistant Enterococci (VRE) Extended Spectrum Beta-lactamase producing bacteria ( ESBL ) Multidrug Resistant (MDR) Acinetobacter and Klebsiella

21 National Antimicrobial Resistance Surveillance, Thailand ( NARST )
Acinetobacter 1998 : 98% susceptible to imipenem 2006 : only 43% susceptible to imipenem E.coli 1999 : 90% susceptible to ceftriaxone 2006 :only 68% susceptible to ceftriaxone Pseudomonas aeroginosa 1998 : 77% susceptible to ceftazidime 2006 : only 70% susceptible to ceftazidime

22 Mariana bridi

23

24

25 แนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลฉีกขาด

26 บาดแผลฉีกขาด บาดแผลฉีกขาดที่ผิวหนังที่มาถึงหน่วยบริการภายใน 6 ชั่วโมง และไม่ได้เกิดจากการผ่าตัดหรือสัตว์กัด

27 บาดแผลสะอาด(ไม่ให้ antibiotic)
บาดแผลเปิดที่มีขอบเรียบสามารถล้างทำความสะอาดได้ง่าย บาดแผลที่ไม่มีเนื้อตาย บาดแผลที่ไม่มีสิ่งสกปรกติดอยู่ภายในเช่น เศษดิน หากมีก็สามารถล้างออกได้โดยง่าย บาดแผลที่ไม่ปนเปื้อนกับสิ่งที่มีแบคทีเรียจำนวนมากเช่น อุจจาระ, มูลสัตว์, น้ำครำ ไม่ใช่บาดแผลที่มีสิ่งปนเปื้อน

28

29 บาดแผลที่มีโอกาสติดเชื้อได้มากกว่าปกติ (ให้ antibiotic)
บาดแผลที่มีสิ่งปนเปื้อน บาดแผลจากการบดอัด เช่น โดนประตูหนีบอย่างแรง แผลที่เท้า แผลที่มีขอบหยึกหยัก บาดแผลในผู้ป่วยเบาหวาน, ผู้ป่วยโรคพิษสุราเรื้อรัง, ผู้ป่วยหลอดเลือดส่วนปลายตีบ, ผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานโรคต่ำ รวมถึงผู้ป่วยที่ทานยากดภูมิต้านทานเช่น ยา steroid

30 บาดแผลที่มีสิ่งปนเปื้อน
บาดแผลถูกวัตถุทิ่มเป็นรูซึ่งยากต่อการทำความสะอาดได้ทั่วถึง บาดแผลซึ่งมีเนื้อตายเป็นบริเวณกว้าง บาดแผลซึ่งมีสิ่งสกปรกติดอยู่ในบาดแผล เช่น เศษดิน บาดแผลที่ปนเปื้อนกับสิ่งที่มีแบคทีเรียจำนวนมากเช่น อุจจาระ, มูลสัตว์, น้ำครำ ให้ Antibiotic= Amoxicillin/clavulonic acid

31

32

33

34 หลักการให้ยาปฏิชีวนะในการป้องกันการติดเชื้อของบาดแผลฉีกขาด
การให้ยาปฏิชีวนะในกรณีนี้เป็นการให้ยาเพื่อป้องกันการติดเชื้อ จึงให้ยานานแค่ 48 ชั่วโมง เมื่อครบ 48 ชั่วโมง หากบาดแผลมีการอักเสบให้ยาต่อไปได้

35 ให้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสะอาดเมื่อ
แผลที่เท้า แผลที่มีขอบหยึกหยัก บาดแผลจากการบดอัด บาดแผลในผู้ป่วยเบาหวาน, ผู้ป่วยโรคพิษสุราเรื้อรัง, ผู้ป่วยหลอดเลือดส่วนปลายตีบ, ผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานโรคต่ำ รวมถึงผู้ป่วยที่ทานยากดภูมิต้านทานเช่น ยา steroid ยาที่ใช้คือ Dicloxacillin Dose : 250 mg qid ac × 2 วัน เด็ก : 125 mg qid ac or mg/kg/day × 2 วัน

36 บาดแผลที่มีสิ่งปนเปื้อน
ให้ยาปฏิชีวนะแก่ผู้ป่วยทุกราย Amoxicillin/clavulonic acid (Augmentin) : 375 mg tid pc or 625 mg bid pc × 2 วัน เด็ก: 156 mg tid pc × 2 วัน

37 แนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคท้องร่วงเฉียบพลัน

38 โรคท้องร่วงเฉียบพลันที่สามารถเพาะเชื้อแบคทีเรียได้จากอุจจาระมีเพียง 5
โรคท้องร่วงเฉียบพลันที่สามารถเพาะเชื้อแบคทีเรียได้จากอุจจาระมีเพียง 5.6 % ยาปฏิชีวนะมีประโยชน์อย่างชัดเจนเฉพาะกรณีการติดเชื้อ Campylobacter jejuni และ Shigella เท่านั้น ให้ยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยที่มีอาการต่อไปนี้ ไข้ 38ºC ขึ้นไป และ อุจจาระมีเลือดปนเห็นได้ด้วยตาเปล่าหรือตรวจพบเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาวในอุจจาระ

39 ยาปฏิชีวนะที่ควรให้คือ
Norfloxacin 400 mg bid ac × 5 วัน ในเด็กให้ขนาด mg/kg/day bid ac 5 วัน ยาปฏิชีวนะอื่นๆเช่น Co-trimoxazole และ tetracycline มีความไวแค่ 10 % เท่านั้นจึงห้ามใช้ ยาอื่นๆที่ใช้ได้ เช่น Activated charcoal ชนิดเม็ดทานครั้งละ 1-2 เม็ด วันละ 4 ครั้ง

40 แนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคระบบทางเดินหายใจส่วนบน

41 กรณีที่ไม่ต้องให้ยาปฏิชีวนะ
ไม่มีไข้ ไม่เจ็บคอ มีน้ำมูกมาก จามบ่อย เสียงแหบ ตาแดง มีผื่นตามตัว มีแผลในช่องปาก ถ่ายเหลว ไอมาก โรคหวัดในระยะใกล้หายจะมีน้ำมูกเป็นสีเขียวเหลือง

42

43

44

45

46 กรณีที่ควรให้ยาปฏิชีวนะ
มีไข้สูงร่วมกับอาการเจ็บคอมาก มีจุดขาวที่ต่อมทอนซิล มีต่อมน้ำเหลืองใต้คอโต ลิ้นไก่บวมแดง มีจุดเลือดออกที่เพดานปาก เกิดจากการติดเชื้อ Group A Beta hemolytic Streptococcus

47

48

49 Viral pharyngitis

50

51

52

53

54

55 ยาปฏิชีวนะที่ใช้ Penicillin V 500 mg tid ac ×10 วัน
Amoxicillin 500 mg tid pc ×10-14 วัน เด็ก: mg/kg/day tid ac ×10-14 วัน Roxithromycin 150 mg bid pc or 300 mg od pc ×10-14 วัน เด็ก: 100 mg bid pc ×10-14 วัน หรือใช้ Erythromycin mg/kg/day qid ac

56


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะอย่าง สมเหตุผลในโรคติดเชื้อทางเดิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google