งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง เหมาะสม ชุมชนมีระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยคุกคามสุขภาพ โดยชุมชน ชุมชนมีและใช้มาตรการทางสังคม ชุมชนเป็นเจ้าของโครงการฯ โดยชุมชนเพื่อชุมชน ชุมชนมีส่วนร่วมเตรียมพร้อม รับ ภาวะฉุกเฉิน ทางสาธารณสุข มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดูแลสุขภาพ ตนเองและชุมชน ชุมชนมีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาดูแลสุขภาพ ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) อปท. เป็นศูนย์ประสานความร่วมมือ ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนงาน ส่งเสริมการสร้างมาตรการทางสังคม และสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง อสม. แกนนำ กองทุนต่างๆ และประชาสังคม มีส่วนร่วม พัฒนาชุมชนให้ตัดสินใจแสดงบทบาท สนับสนุนการ ดำเนินงานของชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและนอกประเทศ มีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงานและทรัพยากร หน่วยงานภาครัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวง สาธารณสุข พัฒนา สนับสนุนวิชาการ ประสานงาน และบูรณาการนโยบายสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงกระบวนการภายใน) มีการจัดการความรู้และนวตกรรมของเครือข่าย ที่เชื่อมโยงมีประสิทธิภาพ มีระบบการสื่อสารสาธารณะที่ครอบคลุมกลุ่ม เป้าหมาย มีกลไกการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ครอบคลุมทุกระดับ มีระบบการติดตามและประเมินผลคุณภาพ กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ มีการบริหารจัดการทรัพยากรและเครือข่ายที่มี ประสิทธิภาพ ระดับพื้นฐานองค์กร (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) มีข้อมูล สารสนเทศ ที่ครอบคลุม ถูกต้องครบถ้วน เชื่อมโยง และเป็นปัจจุบัน บุคลากรและแกนนำเครือข่ายสุขภาพทุกระดับมี สมรรถนะตามที่องค์กรกำหนด มีศูนย์ประสานงานเครือข่ายที่ครอบคลุม /ทีมงานมี คุณลักษณะทีเอื้อต่อการทำงานและมีระบบแรงจูงใจที่ดี

2 ทบทวนเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) การพัฒนางานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ทบทวนเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ชุมชนมีและใช้มาตรการทางสังคมโดยชุมชน ชุมชนสามารถเตรียมพร้อมและมีส่วนร่วม รับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ชุมชนสามารถเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ โดยชุมชน ประชาชน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม ประชาชนสามารถดูแล สุขภาพได้ด้วยตนเอง ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ชุมชนสามารถนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาดูแลสุขภาพ ประชาชน อสม. แกนนำ กองทุนต่างๆ และประชาสังคม มีส่วนร่วมพัฒนาชุมชนสามารถตัดสินใจแสดงบทบาท สนับสนุนการดำเนินงาน องค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและนอกประเทศ มีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงานและทรัพยากร อปท. เป็นศูนย์ประสานความร่วมมือ มีบทบาทร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนงาน ส่งเสริมการสร้างมาตรการทางสังคม และสนับสนุนทรัพยากร หน่วยงานภาครัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีส่วนร่วม พัฒนา สนับสนุนวิชาการ ประสานงาน และบูรณาการนโยบายสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ภาคี ระบบการสื่อสารสาธารณะที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายที่มีคุณภาพ ระบบการติดตาม และประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ บริหารจัดการทรัพยากรและเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ กลไกการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ครอบคลุมทุกระดับ จัดการความรู้และนวัตกรรมของเครือข่ายที่เชื่อมโยง มีประสิทธิภาพ กระบวนการ ข้อมูล สารสนเทศ มีคุณภาพ ครอบคลุม ถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อมโยง และเป็นปัจจุบัน บุคลากรและแกนนำเครือข่ายสุขภาพทุกระดับมีสมรรถนะตาม ที่องค์กรกำหนด หน่วยประสานงานเครือข่ายสุขภาพ ที่ครอบคลุมองค์กรทุกระดับ ทีมงานมีคุณลักษณะทีเอื้อต่อการทำงาน มีวัฒนธรรมและแรงจูงใจที่ดี พื้นฐาน

3 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) การพัฒนางานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปี ชุมชนมีและใช้มาตรการทางสังคม ส่งเสริมการจัดเวทีสมัชชาสุขภาพ ส่งเสริมการสร้างและใช้มาตรการเพื่อควบคุมพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในชุมชน ส่งเสริมการสร้างและใช้มาตรการเพื่อการสร้างพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องในชุมชน ชุมชนสามารถเตรียมพร้อมและมี ส่วนร่วมรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ส่งเสริมศักยภาพแกนนำการจัดทำแผนการเตรียมความพร้อมรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในชุมชน ส่งเสริมการมีส่วนร่วมเตรียมพร้อม และจัดการภาวะฉุกเฉินในชุมชนโดยชุมชน ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของชุมชน ชุมชนสามารถเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ โดยชุมชน ส่งเสริม สนับสนุนการ เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยชุมชน พัฒนาระบบและติดตามประเมินผลการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ที่ครอบคลุมทั่วถึงทุกระดับ ส่งเสริมการ สร้างแกนนำสนับสนุนการเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพของชุมชน ประชาชน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม ส่งเสริมการสร้างนโยบายสาธารณะในการจัดสุขภาพที่ดี ครอบคลุมและเหมาะสม ปลูกฝังจิตสำนึกการดูแลสุขภาพและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพอย่างที่ดี เสริมสร้างศักยภาพของประชาชน ในการดูแลสุขภาพที่ดีและเหมาะสม สามารถดูแล สุขภาพได้ด้วยตนเอง ส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพของชุมชน สร้างและพัฒนาศูนย์การเรียนรู้การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน พัฒนาศักยภาพแกนนำในการสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ในงาน เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในชุมชน พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนงาน /โครงการของชุมชน ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดทำแผนงาน/โครงการระหว่างชุมชน ชุมชนสามารถนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาดูแลสุขภาพ ส่งเสริมนโยบายสาธารณะในการสร้างสุขภาพ ปลูกฝังจิตสำนึกการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง พัฒนาความรู้ทักษะในการดูแลสุขภาพ ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการจัดการสุขภาพ ประชาชน อปท. เป็นศูนย์ประสานความร่วมมือ มีบทบาทร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนงาน ส่งเสริมการสร้างมาตรการทางสังคม และสนับสนุนทรัพยากร ส่งเสริมการจัดทำแผนงาน โครงการร่วมกับท้องถิ่นและเครือข่ายองค์กรชุมชน สร้างเครือข่ายความร่วมมือการประสานงานด้านวิชาการ และการจัดการทรัพยากร พัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรและกองทุนสุขภาพตำบลที่มีประสิทธิภาพ พัฒนา กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรการทางสังคมในชุมชน หน่วยงานภาครัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีส่วนร่วม พัฒนา สนับสนุนวิชาการ ประสานงาน และบูรณาการนโยบายสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม สนับสนุนการจัดทำแผนงาน หรือข้อตกลงระหว่างองค์กรเครือข่ายสุขภาพทั้งในและระหว่างประเทศ ส่งเสริมและสร้างความร่วมมือของเครือข่ายสุขภาพทุกระดับ พัฒนา กฏ ระเบียบข้อบังคับ มาตรการแนวทาง ที่เอื้อต่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ อสม. แกนนำ กองทุนต่างๆ และประชาสังคม มีส่วนร่วมพัฒนาชุมชนสามารถตัดสินใจแสดงบทบาท สนับสนุนการดำเนินงาน พัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ สร้างแรงจูงใจการมีส่วนร่วมสนับสนุนงานชุมชน ส่งเสริมการสร้างความร่วมมือของเครือข่ายสุขภาพชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและนอกประเทศ มีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงานและทรัพยากร สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ในการจัดการทรัพยากร ส่งเสริมความร่วมมือและข้อตกลงระหว่างองค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและ นอกประเทศ สนับสนุนวิชาการเทคโนโลยี สารสนเทศ ในงานเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ ภาคี ระบบการสื่อสารสาธารณะที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายที่มีคุณภาพ ส่งเสริมสนับสนุนการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร พัฒนาช่องทางการสื่อสารที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย พัฒนาระบบการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและประชาสัมพันธ์ที่หลากหลาย และมีประสิทธิผล ระบบการติดตามและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ สร้างและพัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลคุณภาพกระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมมาตรการและกระบวนการบริหารจัดการ ส่งเสริมการสร้างมาตรการจูงใจที่เชื่อมโยงกับการบริหารผลการปฏิบัติงาน บริหารจัดการทรัพยากรและเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ พัฒนากลไกการจัดการทรัพยากร และเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนา ปรับปรุงมาตรฐานการดำเนินงานตามเกณฑ์ที่องค์กรกำหนด สร้างและพัฒนาความสัมพันธ์กับเครือข่ายสุขภาพทุกระดับ กลไกการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ครอบคลุมทุกระดับ ผลักดันนโยบายการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ ส่งเสริมให้มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ครอบคลุมทุกระดับ สร้างและพัฒนากลไกการถ่ายระดับยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ จัดการความรู้และนวัตกรรมของเครือข่ายที่เชื่อมโยงมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมสนับสนุนการสร้าง นวตกรรม พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ สร้างและพัฒนามาตรฐาน คู่มือ แนวทาง และจัดการบัญชีนวตกรรมการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กระบวนการ บุคลากรและแกนนำเครือข่ายสุขภาพทุกระดับมีสมรรถนะตามที่องค์กรกำหนด พัฒนาสมรรถนะบุคลากรในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ สร้างเสริมความรู้ประสบการณ์ และฝึกทักษะ - การเป็นวิทยากรการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ - การถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ - การจัดการเครือข่าย การสื่อสาร - การบริหารจัดการทรัพยากรและกระบวนการ - การประเมินผล พัฒนาสมรรถนะหลักตามค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร ข้อมูล สารสนเทศ มีคุณภาพ ครอบคลุม ถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อมโยง และเป็นปัจจุบัน พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถด้านการจัดการข้อมูลและระบบสารสนเทศ พัฒนาฐานข้อมูลตามพันธกิจและการบริหารจัดการ ให้สามารถสืบค้นได้ง่าย ถูกต้องครอบคลุมและเป็นปัจจุบัน พัฒนาศูนย์รวมข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศขององค์กร หน่วยประสานงานเครือข่ายที่ครอบคลุม องค์กร ทุกระดับและ ทีมงานมีคุณลักษณะทีเอื้อต่อการทำงาน มีวัฒนธรรมและแรงจูงใจที่ดี สนับสนุนให้มีหน่วยประสานงานเครือข่ายที่ครอบคลุมทุกระดับ องค์กรทุกระดับ ส่งเสริมการสร้างสมรรถนะหลัก แรงจูงใจ ตามค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร สร้างบรรยากาศการทำงานเป็นทีมและความผาสุกในการปฏิบัติงาน พื้นฐาน 3

4 สร้างเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2552
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ร่วม ของกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค สร้างเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2552 ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ชุมชน มีมาตรการทาง สังคม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดย ชุมชน ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภาคี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพและเป็นจริง พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม

5 Action Needs กองแผนงาน - เป็นเจ้าภาพในการทบทวน SRM ของกรมฯ จัดทำคู่มือ แนวทาง SRM ในบทบาทของกรมให้ชัดเจน - จัดประชุม SRM สัญจรเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของ สคร.และจัดกิจกรรมศึกษาดูงานในพื้นที่ - พัฒนาความร่วมมือและประสานนโยบายกับหน่วยงานภายในกระทรวง เช่น สป. สสจ. กรมอนามัย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และสปสช ฯลฯ - กองแผนงานร่วมติดตามประเมินผลการถ่ายระดับในพื้นที่ - สรุปถอดบทเรียนเป็นภาพรวมของกรมฯ และจัดทำเป็นเอกสารเผยแพร่(เดือนสิงหาคม 53) สำนักส่วนกลาง - จัดทำ SLM รายโรคสำคัญและถ่ายระดับสู่ สคร. (ผ่านความเห็นชอบในที่ประชุมผู้บริหารกรม และแจ้งเวียนอย่างเป็นทางการ) สคร. - ทำ Model การใช้ SRM อย่างน้อย จังหวัดละ 1 พื้นที่ - เป็นวิทยากรกระบวนการในการถ่ายระดับแผนที่ยุทธศาสตร์ในพื้นที่ - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับเขต - ติดตามผลการดำเนินงาน สรุปถอดบทเรียนเป็นภาพรวมของเขต


ดาวน์โหลด ppt ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google