งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80

2 เกณฑ์ ตัวชี้วัดP4P ใช้วัดคุณภาพผลงาน :ระดับหน่วยบริการปฐมภูมิ(PCU)
:ระดับหน่วยบริการประจำ(CUP) คุณภาพผลงานที่วัด : เป็น Process, outputหรือOutcome :วัดผลงานที่เป็นงานที่ทำปกติ เกณฑ์นี้ไม่ซ้อนกับเกณฑ์ P4P หรือเกณฑ์อื่นๆ ที่มีการสนับสนุนจากสปสช.

3 ข้อมูลที่ใช้วัด P4P ข้อมูลผลงานไม่น้อยกว่า 6 เดือน
วัดข้อมูลผลงาน ตั้งแต่ ต.ค มิถุนายน 55

4 การพิจารณาคัดเลือกเกณฑ์
สปสช.กำหนดหัวข้อเกณฑ์หลัก ทุกNode จัดทำเกณฑ์ตามTemplateส่งสปสช.พิจารณา สปสช.พิจารณาคัดเลือกเกณฑ์และประกาศผล จัดทำคู่มือเกณฑ์/แนวทางประเมิน/ประกาศใช้เกณฑ์

5 เกณฑ์ที่สปสช.คัดเลือก
ลำดับ หัวข้อเกณฑ์ กิจกรรมที่วัด น้ำหนัก คะแนน หน่วยรับผิดชอบ/จังหวัด 1 PCA การพัฒนาขั้น3 27 Node primary 2 NCD การตรวจเท้า DM 17 Node DM/HT 3 เยี่ยมบ้าน กลุ่มติดเตียง 16 Node LTC 4 ทันตกรรม รักษา&ส่งเสริม 20 Nodeทันตกรรม 5 MCH ANC 12 week Node MCH รวมน้ำหนักคะแนน 100

6 ผู้รับผิดชอบเกณฑ์ มีหน้าที่ Nodeวิชาการ - ตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้อง ของข้อมูลที่ใช้ประเมิน - การนำผลข้อมูลไปใช้ทำแผนพัฒนา ศูนย์วิชาการ สสจ.

7 การกำกับ ติดตาม ประเมินผล
ผู้รับผิดชอบเกณฑ์ มีหน้าที่ 1.คณะทำงานประเมินผล -ตรวจสอบความถูกต้องการเบิก จ่ายเงินงบประมาณ -วิเคราะห์คุณภาพบริการระดับปฐมภูมิ 2.คณะกรรมการระดับเขต

8 การรายงานตัวชี้วัดที่ 3 :ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพา(ติดเตียง) ได้รับการดุแลสุขภาพที่บ้าน (Home Health Care) โดยบุคลากรสาธารณสุข จังหวัด รายรพ.สต ลำดับที่ รพ.สต. A จำนวนผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแลสุขภาพที่บ้านตามเกณฑ์คุณภาพโดยบุคลากรสาธารณสุข B จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในภาวะพึ่งพา(ติดเตียง)ในเขตรับผิดชอบ ร้อยละ(AX100) ระดับคะแนน หมายเหตุ 1. รพ.สต 2. 3. 4. รพ.สต 5. รพ.สต 6. รวม B

9 รายงานผลการดำเนินงาน Long Term Care ปี 2555
หน่วยงาน ประจำเดือน ลำดับ รายการ จำนวน(ราย) ผลงานสะสม 1 จำนวนผู้สูงอายุที่อายุ 60 ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบทั้งหมด 2 จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองความสามารถในการดำเนินชีวิต ( ADL ) 2.1 จำนวนผู้สูงอายุกลุ่มที่ 1 ติดสังคม ( 12 คะแนนขึ้นไป) 2.2 จำนวนผู้สูงอายุกลุ่มที่ 2 ติดบ้าน( คะแนน) 2.3 จำนวนผู้สูงอายุกลุ่มที่ 3 ติดเตียง ( คะแนน) 3 จำนวนผู้ป่วยเรื้อรังที่ติดเตียงในเขตรับผิดชอบทั้งหมด (เป็นบุคคลที่ไม่ซ้ำกับ 2.3 ) 4 จำนวนผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง) ที่ได้รับการดูแลเยี่ยมบ้าน 2 ครั้ง (Home Health Care )


ดาวน์โหลด ppt ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google