งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
โครงการ ปีงบประมาณ 2557 กลุ่มโครงการพิเศษ ส.ส.ส. กรมปศุสัตว์ กิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการปศุสัตว์ 1. โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกร 2. โครงการพัฒนาอาชีพการเลี้ยงสัตว์แบบผสมผสาน 3. โครงการคัดเลือกเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรดีเด่น แห่งชาติ วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.

2 แนวทางการทำงาน กำหนดชนิดปศุสัตว์เป้าหมายของจังหวัด
- สอดคล้องกับยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์ - สอดคล้องกับกับการจัด Zoning กำหนดเป้าหมายการทำงานชัดเจน เป้าหมาย 1. เกษตรกร (ต้องสังกัดกลุ่มเกษตรกร) 2. กลุ่มเกษตรกร (ต้องขึ้นทะเบียน) 3. ศูนย์เรียนรู้ (ต้องขึ้นทะเบียน) 4. เครือข่ายเกษตรกร (ชมรมจังหวัด/เครือข่ายเขต) - สอดคล้องกับชนิดปศุสัตว์เป้าหมาย

3 แนวทางการทำงาน (ต่อ) กรอบการทำงาน - ผ่านศูนย์เรียนรู้
1. พัฒนาความรู้เกษตรกร - ผ่านศูนย์เรียนรู้ - ผ่านกระบวนการกลุ่ม - ผ่านหน่วยงานเทคนิค 2. สร้างความเข้มแข็งกลุ่มและเครือข่ายเกษตรกร 3. ติดตามแก้ไขปัญหาพัฒนาการเลี้ยงแบบมีส่วนร่วม 4. พัฒนาธุรกิจเครือข่าย (เชื่อมโยงการผลิต-ตลาด)

4 กิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการปศุสัตว์
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกร เป้าหมาย 73 จังหวัด/7 ศวป./9 เขต 230 ศูนย์เรียนรู้ตัวชี้วัด - ศูนย์เรียนรู้พอเพียง 100 ศูนย์ - ศูนย์เรียนรู้เฉพาะทาง 130 ศูนย์ เกษตรกร 8,800 ราย - เกษตรกรกลุ่มยุทธศาสตร์ 8,000 ราย - เกษตรกรเครือข่ายปศุสัตว์ 800 ราย

5 การดำเนินการ คัดเลือกศูนย์ พัฒนาความพร้อมศูนย์เพื่อการฝึกอบรม
1. เตรียมความพร้อมศูนย์เรียนรู้ตามตัวชี้วัด (สนง.ปศจ.) คัดเลือกศูนย์ ศูนย์พอเพียง : คัดเลือกจากศูนย์เดิมที่ผ่านการประเมินโดย ปศข. ศูนย์เฉพาะทาง : คัดเลือกจากเกษตรกรดีเด่นโดยต้องสัมพันธ์กับ ชนิดปศุสัตว์และกลุ่มเกษตรกรยุทธศาสตร์ ส่งรายชื่อ/ข้อมูลให้ เขต พัฒนาความพร้อมศูนย์เพื่อการฝึกอบรม -องค์ความรู้/หลักสูตร/กิจกรรมฟาร์ม/วิทยากร พัฒนาคุณภาพศูนย์ตามตัวชี้วัดการประเมิน - ความพร้อมเจ้าของศูนย์ มี 4 ประเด็นย่อย - องค์ประกอบและกิจกรรมในศูนย์ มี 6 ประเด็นย่อย - ความสำเร็จของศูนย์ มี 10 ประเด็นย่อย

6 การดำเนินการ (ต่อ) 2. ฝึกอบรมเกษตรกรผ่านศูนย์เรียนรู้ตัวชี้วัด
ศูนย์พอเพียง - เน้นเกษตรกรที่ทำการเกษตรแบบผสมผสานข้างเคียง - อบรมเกษตรกรรายใหม่ 28 รายต่อศูนย์ - อบรมที่ศูนย์ ระยะเวลาอบรมไม่เกิน 3 วัน - หลักสูตร เน้นหลักคิดการทำเกษตรผสมผสานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงและความรู้การเลี้ยงสัตว์ที่เกี่ยวข้อง ศูนย์เฉพาะทาง - เน้นเกษตรกรกลุ่มเลี้ยงสัตว์ยุทธศาสตร์ที่ขึ้นทะเบียน - อบรมเกษตรกรผ่านศูนย์ 40 รายต่อศูนย์ - อบรมที่ศูนย์ระยะเวลาอบรมไม่เกิน 3 วัน - หลักสูตรเน้นความรู้เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาประสิทธิภาพการเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกร ส่งรายชื่อพร้อมข้อมูลศูนย์ตัวชี้วัดให้เขต

7 การดำเนินการ (ต่อ) 3. ฝึกอบรมเกษตรกรเครือข่าย (ศวป.)
วิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของกลุ่มเครือข่าย กำหนดหลักสูตรการอบรม เน้นแก้ไขปัญหาพัฒนาเครือข่าย ไม่เกิน 3 วัน เน้นตัวแทนกลุ่ม/อาสา/มี ปัญหา ไม่เกิน 20 คน/ หลักสูตร เสนอหลักสูตรของความเห็นชอบจาก ส.ส.ส. ประสานเครือข่าย/จังหวัด คัดเลือกเกษตรกร ดำเนินการฝึกอบรมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

8 ประสานจังหวัด/เครือข่ายรับสมัครเกษตรกร
การดำเนินการ (ต่อ) 4. ฝึกอบรมเกษตรกรมืออาชีพ (สนง.ปศข.) คัดเลือกจัดตั้งศูนย์บ่มเพาะจากศูนย์เรียนรู้ดีเด่น กำหนดหลักสูตรการอบรม เน้น สร้างมืออาชีพเฉพาะ ชนิดปศุสัตว์เครือข่าย เกษตรกรที่สมัครในหลักสูตรไม่เกิน 5 วัน ประสานจังหวัด/เครือข่ายรับสมัครเกษตรกร เน้น เกษตรกรสมาชิกเครือข่ายที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ดำเนินการอบรมร่วมกับเกษตรกรเจ้าของศูนย์ บ่มเพาะ

9 การดำเนินการ (ต่อ) 5. จัดทำสื่อความรู้ (ศวป.)
รวบรวมองค์ความรู้การเลี้ยงสัตว์ตามชนิดเครือข่าย คัดเลือก/จัดกระบวนความรู้/จัดทำต้นฉบับสื่อ จัดทำสื่อ 2 ประเภท (สื่อสิ่งพิมพ์/สื่อนิทรรศการ) เผยแพร่/สนับสนุนสื่อแก่หน่วยงานต่างๆ 6. สนับสนุนวิทยากรฝึกอบรมเกษตรกร สปก. จะแจ้งและโอนงบประมาณให้เมื่อมีความชัดเจน 7. ติดตามประเมินตามตัวชี้วัด (สนง.ปศข.) ศูนย์เรียนรู้ (ตามเป้าหมาย) กลุ่มเกษตรกร (1 อำเภอ 1 กลุ่ม)

10 โครงการพัฒนาอาชีพการเลี้ยงสัตว์แบบผสมผสาน
เป้าหมาย 73 จังหวัด/7 ศวป./7 เขต เกษตรกร 837 กลุ่มตัวชี้วัด/7,900 ราย กลุ่มเกษตรกรเครือข่าย 3 ชนิดปศุสัตว์/ 337 กลุ่ม/51 ชมรมจังหวัด/9 เครือข่ายเขต) - แพะ 36 จังหวัด/271 กลุ่ม/36 ชมรม/5 เครือข่าย - ไก่งวง 11 จังหวัด/29 กลุ่ม/11 ชมรม/1 เครือข่าย - หมูหลุม 19 จังหวัด/37 กลุ่ม/4 ชมรม/4 เครือข่าย

11 พัฒนาความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกรตัวชี้วัด (สนง.ปศจ.)
การดำเนินการ พัฒนาความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกรตัวชี้วัด (สนง.ปศจ.) คัดเลือกเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนกับกรมปศุสัตว์ พบปะจัดกิจกรรมกลุ่มอย่างน้อย กลุ่มละ 5 ครั้ง ถ่ายทอดความรู้เกษตรกรสมาชิกกลุ่ม (ตามเป้า) จัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาช่วยตัวเอง ตรวจสอบ/พัฒนากลุ่มตามตัวชี้วัดการประเมิน บันทึกและตรวจสอบสมุดบันทึกประจำกลุ่ม ส่งรายชื่อพร้อมข้อมูลกลุ่มตัวชี้วัดให้เขต

12 2. พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
การดำเนินการ (ต่อ) 2. พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ เฉพาะเครือข่ายหมูหลุม/แพะ/ไก่งวง พัฒนากลุ่มเกษตรกรเครือข่าย (จังหวัด) พบปะจัดกิจกรรมกลุ่มอย่างน้อย 5 ครั้ง พัฒนาความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกรตามตัวชี้วัด เน้นการจัดกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง บันทึกและตรวจสอบสมุดบันทึกประจำกลุ่ม พัฒนาชมรมจังหวัด (จังหวัด/ศวป./เขต) สร้างเวทีพบปะสมาชิกอย่างต่ำ 2 ครั้ง(ประชุมสามัญ) สร้างแผนพัฒนาระดับชมรมจังหวัด พัฒนาศักยภาพชมรมจังหวัดตามตัวชี้วัด

13 พัฒนาเครือข่ายระดับเขต (ศวป./สนง.ปศข.)
การดำเนินการ (ต่อ) พัฒนาเครือข่ายระดับเขต (ศวป./สนง.ปศข.) จัดเวทีพบปะเครือข่ายกับหน่วยงานรัฐ อย่างน้อย 4 ครั้ง - ทำแผนปฏิบัติงานประจำปี (สนง.ปศข.)(1 ครั้ง) - ทำแผนพัฒนาเครือข่าย/แผนธุรกิจ - รับฟังปัญหา-ความต้องการ/เสนอแนวทางแก้ไข บูรณาการหน่วยงานจัดกิจกรรมสนับสนุนชมรมจังหวัด - ด้านพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์ - ด้านอาหารสัตว์ - ด้านสุขภาพสัตว์ - ด้านการจัดการผลผลิตและการตลาด พัฒนาเครือข่ายเขตตามตัวชี้วัด

14 4. พัฒนาเครือข่ายธุรกิจ (สนง.ปศจ./ศวป.)
การดำเนินการ (ต่อ) 4. พัฒนาเครือข่ายธุรกิจ (สนง.ปศจ./ศวป.) ประสานคัดเลือกเป้าหมาย วิเคราะห์ศักยภาพ/กำหนดแผนพัฒนา โอนงบประมาณเพื่อดำเนินการตามแผน - แผนพัฒนาภาคการผลิต - แผนพัฒนาภาคการตลาด 5. ติดตามประเมินเครือข่าย (สนง.ปศข.) ร่วมกำหนดตัวชี้วัดการประเมิน ติดตามประเมินเครือข่ายตามตัวชี้วัด - กลุ่มเกษตรกรเครือข่าย - ชมรมระดับจังหวัด

15 ตัวชี้วัด 1. ตัวชี้วัดเพื่อการประเมินปศุสัตว์จังหวัด
- ตัวชี้วัดคุณภาพศูนย์เรียนรู้ (20ประเด็นย่อย) - ตัวชี้วัดความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกร (26 ประเด็นย่อย) 2. ตัวชี้วัดเพื่อการประเมินผลการพัฒนาเครือข่าย - ตัวชี้วัดกลุ่มเครือข่าย - ตัวชี้วัดชมรมจังหวัด - ตัวชี้วัดเครือข่ายเขต

16 โครงการคัดเลือกเกษตรกร สถาบันเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ
1 เกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ 1 กลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ เป้าหมาย คุณสมบัติ 1. เกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ เป็นศูนย์เรียนรู้ที่ขึ้นทะเบียนกับกรมปศุสัตว์(ศูนย์ตัวชี้วัด) ประกอบอาชีพการเลี้ยงสัตว์ อย่างน้อย 5 ปี ไม่เคยได้รับรางวัลดีเด่นแห่งชาติมาก่อน 2. กลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ เป็นกลุ่มที่ขึ้นทะเบียนกับกรมปศุสัตว์(กลุ่มชี้วัด/1อ.1กลุ่ม) มีอายุกลุ่มไม่น้อยกว่า 3 ปี มีข้อมูลย้อนหลังเพื่อตรวจสอบไม่น้อยกว่า 3 ปี ไม่เคยได้รับรางวัลมาก่อนหรือได้ไม่เกิน 5 ปี

17 การดำเนินการ 1. คัดเลือกระดับจังหวัด(บังคับทุกจังหวัดต้องส่งเข้าประกวด) ส่ง สนง.ปศข. ภายในเดือนตุลาคม 2556 2. คัดเลือกระดับเขต ส่งกรมปศุสัตว์ ภายในเดือนพฤศจิกายน 2556 3. คัดเลือกระดับชาติ (กรมฯ) ส่ง กษ. ภายในเดือนมกราคม 2557

18 ประเมินด้วยแบบรายงานผล ประเมินด้วยแบบรายงานและคณะกรรมการเขต
ตัวชี้วัด รอบที่ 1 จำนวนเกษตรกรที่ผ่านการฝึกอบรมและนำไปใช้ ประโยชน์ (เงือนไขการฝึกอบรมต้องแล้วเสร็จเดือนธันวาคม 56) จำนวนศูนย์เรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนา จำนวนศูนย์กลุ่มเกษตรกรที่ได้รับการพัฒนา ประเมินด้วยแบบรายงานผล จำนวนแหล่ง/ศูนย์เรียนรู้ที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ รอบที่ 2 จำนวนกลุ่มเกษตรกรที่มีความเข้มแข็งตามเกณฑ์ ประเมินด้วยแบบรายงานและคณะกรรมการเขต เงื่อนไข แหล่งเรียนรู้/กลุ่มเกษตรกรต้องขึ้นทะเบียนกับกรมปศุสัตว์


ดาวน์โหลด ppt วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google