งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

M.Sc. Exercise Physiology

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "M.Sc. Exercise Physiology"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 M.Sc. Exercise Physiology
Sport massage and stretching Salinee Chaiyakul M.Sc. Exercise Physiology

2 Sport massage วัตถุประสงค์ ประโยชน์
ช่วงก่อนการแข่งขัน เป็นการนวดเพื่อกระตุ้นให้เกิดการตื่นตัว และเตรียมความพร้อมกล้ามเนื้อ ระหว่างการแข่งขัน ใช้ในกรณีที่อาจเกิดการบาดเจ็บ การล้าหรือเกิดตะคริวของกล้ามเนื้อ เทคนิคการนวดในช่วงนี้จะเน้นการนวดเพื่อการรักษา ช่วงหลังการแข่งขัน เป็นการนวดเพื่อเน้นการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ซึ่งต้องทำงานหนักจากกการแข่งขัน

3 ประโยชน์ของการนวดเพื่อการกีฬา
ลดความตึงตัว และเพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ ข้อต่อ เอ็นกล้ามเนื้อ เอ็นรอบข้อต่อ อบอุ่นร่างกาย กระตุ้นการทำงานของกล้ามเนื้อ ข้อต่อ และส่วนต่างๆของร่างกายก่อนแข่งขัน ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ โครงสร้างรอบข้อต่อ และส่วนต่างๆ ของร่างกายหลังการแข่งขัน รักษาอาการต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการแข่งขัน ได้แก่ การบาดเจ็บหรือการเกิดตะคริวของกล้ามเนื้อ กระตุ้นการไหลเวียนเลือด และน้ำเหลือง

4 ประโยชน์ของการนวดเพื่อการกีฬา
ลดอาการบวม ลดอาการปวด จากการกระตุ้น Pain gate theory, กระตุ้นการหลั่ง Endophins, เพิ่ม local and general relaxation โดยเพิ่ม Blood circulation, ลด Metabolic waste product, เพิ่ม O2 เข้าสู่เนื้อเยื่อ และให้ผลของ Psychologically effect ลดความกังวล และความเครียดก่อนแข่งขัน ป้องกันอาการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ ข้อต่อ เอ็นกล้ามเนื้อ เอ็นรอบข้อต่อ

5 Massage Technique คล้ายคลึงกับการนวดแบบตะวันตก (Swedish massage)‏
Effleurage Petrissage Tapotement Friction Vibration Joint Mobilization เทคนิคการนวดอื่นๆ ได้แก่ Lymphatic drainage, Connective tissue massage, and Myofacial release

6 Effleurage (Stroke)‏ Superficial stroke และ Deep stroke

7 Wringing Squeezing Picking-up Muscle rolling Broadening Pumping
Petrissage Wringing Squeezing Picking-up Muscle rolling Broadening Pumping

8

9 Tapotement Hacking Cupping Pounding Beating Pincement

10

11 Friction Deep friction longitudinal transverse

12 Vibration

13 Joint Mobilization Articulation Stretching Traction Shaking Shearing
Neuromuscular and related techniques

14

15 Other techniques Lymphatic drainage
เป็นการนวดเพื่อลดอาการบวม นวดโดยเน้น Effleurage ตามแนวทางเดินน้ำเหลือง Connective tissue massage and Myofacial release เป็นการนวดเพื่อลดความตึงตัวของ Superficial fascia และ Deep fascia

16

17

18 การนวดที่เหมาะสมสำหรับระยะต่างๆของการแข่งขัน

19 ระยะก่อนการแข่งขัน เป็นการนวดเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการแข่งขัน
โดยปกติควรนวดก่อนการแข่งขัน นาที อบอุ่นกล้ามเนื้อ ให้ผลกระตุ้นการไหลเวียนเลือดของกล้ามเนื้อและข้อต่อ เพิ่ม Tone ของกล้ามเนื้อะและกระตุ้น Neuromuscular response เทคนิคการนวด ควรเป็นเทคนิคที่เร็วและทำให้เกิดการตื่นตัวของกล้ามเนื้อที่ใช้ในการแข่งขันนั้นๆ เน้นที่กล้ามเนื้อและข้อต่อที่ใช้งาน ไม่ควรเป็นการนวดโครงสร้างชั้นลึกลงไป และรุนแรงเกินไป เนื่องจากอาจทำให้เกิดความเจ็บปวดและอาการไม่สบายของกล้ามเนื้อได้

20 เทคนิคการนวดที่นำมาใช้
Effleurage, Petrissage, Vibration, Shaking, Tapotement, Mobilizing, Stretching

21 ระยะระหว่างแข่งขัน เป็นการนวดในกรณีที่อาจเกิดการบาดเจ็บ การล้า หรือเกิดตะคริวของกล้ามเนื้อ เทคนิคการนวดในช่วงนี้จะเน้นการนวดเพื่อการรักษา อาจใช้น้ำแข็งร่วมกับการนวดด้วยเทคนิค Kneading, Squeezing, และ Pumping เพื่อช่วยลดอาการปวด และล้าของกล้ามเนื้อ เทคนิคการใช้น้ำแข็งนวดเบาๆ เป็นวงกลม หรือถูเบาๆ ลงไปบน Muscle strains หรือ Tendinitis เป็นเวลา 7-10 นาที จะช่วยลดอาการปวด และบาดเจ็บของเนื้อเยื่อได้ ในกรณีที่เป็นตะคริวใช้การยืดกล้ามเนื้อร่วมกับเทคนิคการนวดโดยการกดลงไปบนลำกล้ามเนื้อ จะสามารถช่วยลดอาการได้

22 ระยะหลังแข่งขัน เป็นการนวดเพื่อเน้นการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ซึ่งต้องทำงานหนักจากการแข่งขัน สามารถเริ่มได้ตั้งแต่ครึ่งถึงสองชั่วโมงหลังการแข่งขัน เพื่อลด Delayed onset muscle soreness (DOMS) การตรวจร่างกายเพื่อประเมินปัญหาของนักกีฬาที่อาจเกิดขึ้นจากการแข่งขันมีความจำเป็นมาก เนื่องจากต้องระมัดระวังการบาดเจ็บที่เกิดขึ้น และป้องกันการบาดเจ็บที่เพิ่มมากขึ้น จากเทคนิคการรักษาที่ไม่เหมาะสมได้ เทคนิคการนวดในระยะนี้ควรมีจังหวะช้า และผ่อนคลาย นวดลงไปโดยเน้นที่กล้ามเนื้อและข้อต่อที่ใช้งานในการแข่งขันนั้นๆ

23 เทคนิคการนวดที่นำมาใช้
Effleurage, Petrissage, Longitudinal and transverse friction, Shaking, vibration Stretching

24 Stretching for sport Indication for stretching to loosen tight muscles
to help mobilize restricyed joint to help improve biomechanical efficiency to improve relaxation of the muscle

25 Indication for stretching
to improve circulation to prevent injury to improve performance to improve recovery from training and competition to reduced exercise related muscle soreness to improve flexibility

26 Type of stretching exercise
Active stretching Passive stretching Static stretching Ballistic stretching : dynamic and rhythmic leading microtrauma inaffected muscle

27 Bony block limits joint motion Fracture and non union
Contraindication Bony block limits joint motion Fracture and non union Inflammation or infection Sharp and acute pain with joint movement or muscle elongation Hematoma or tissue trauma Hypermobility or instability of joint Tissue limitation that maintain joint stability

28 Component of stretching exercise
Duration of stretching Hold for sec Speed Slow motion Frequency Depended on the purpose Mode of stretch Active Passive

29 Guideline for stretching
Assessment part of body, limit extensibility Assessment cause and severity due to select treatment Evaluate normal ROM Evaluate joint stability Evaluate muscle strength Explain objective, procedure, and advantage of treatment

30 Guideline for stretching
Adjust position of patient Remove cloth or ware which block movement Explain patient to relaxation and tell when pain Fix proximal segment and move distal segment

31 Guideline for stretching
Gently move and remain at end range seconds Apply traction force Release gently and rest Instruct patient to movement Trainer apply: “body mechanics”

32

33

34

35


ดาวน์โหลด ppt M.Sc. Exercise Physiology

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google