งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กำหนดการ : วันที่ 1 ของการอบรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กำหนดการ : วันที่ 1 ของการอบรม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หลักสูตรการประเมินองค์กรด้วยตนเองสำหรับคณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

2 กำหนดการ : วันที่ 1 ของการอบรม
เวลา กิจกรรม พิธีเปิด การชี้แจงตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2549 ภาพรวมของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ - วัตถุประสงค์ของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ - ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการ กับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ - ประโยชน์ต่อส่วนราชการในการนำไปใช้ - ขั้นตอนการดำเนินการตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ บรรยายและฝึกปฏิบัติ ลักษณะสำคัญขององค์กร ลงทะเบียน เช้า – น. และบ่าย – น. พักรับประทานอาหารว่าง เวลาประมาณ – น. และ – น. พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลาประมาณ – น.

3 กำหนดการ : วันที่ 2 ของการอบรม
เวลา กิจกรรม บรรยายและฝึกปฏิบัติ ลักษณะสำคัญขององค์กร (ต่อ) หมวด 1 การนำองค์กร หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ลงทะเบียน เช้า – น. และบ่าย – น. พักรับประทานอาหารว่าง เวลาประมาณ – น. และ – น. พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลาประมาณ – น.

4 กำหนดการ : วันที่ 3 ของการอบรม
เวลา กิจกรรม หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล ลงทะเบียนเช้า เวลา – น. และบ่าย – น. พักรับประทานอาหารว่าง เวลาประมาณ – น. และ – น. พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลาประมาณ – น.

5 กำหนดการ : วันที่ 4 ของการอบรม
เวลา กิจกรรม หมวด 6 การจัดการกระบวนการ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ แลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติในการเข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ โดยส่วนราชการนำร่อง สรุปและถาม-ตอบ นัดหมายการให้คำปรึกษาแนะนำสำหรับคลีนิกสัญจร ลงทะเบียน เช้า – น. และบ่าย – น. พักรับประทานอาหารว่าง เวลาประมาณ – น. และ – น. พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลาประมาณ – น.

6 วัตถุประสงค์ของการอบรม
ผู้ผ่านการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการดำเนินการตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ผู้ผ่านการอบรมสามารถจัดทำลักษณะสำคัญ ขององค์กร และเอกสารรายงานผลการดำเนินการเบื้องต้นของส่วนราชการ (Template) ตามตัวชี้วัด ของคำรับรองการปฏิบัติราชการปี 2549

7 คุณสมบัติของผู้เข้ารับการอบรม
ผู้แทนที่ส่วนราชการแต่งตั้งให้เป็นคณะทำงานให้รับผิดชอบ ในแต่ละหมวด จำนวน 6 คน สามารถเข้ารับการอบรมได้ตลอดหลักสูตร 4 วันตามที่กำหนด เป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจและมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ในองค์กรของตนเป็นอย่างดี เป็นผู้มีความสามารถในการสื่อสารและถ่ายทอดความรู้ และมีความตั้งใจที่จะนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในงานที่รับผิดชอบได้เป็นอย่างดี

8 แนะนำตัว ชื่อ-สกุล ส่วนราชการ หมวดที่รับผิดชอบ ตัวแทนส่วนราชการบอกความก้าวหน้า ว่าดำเนินการอะไรไปแล้วบ้าง

9 รางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศ
1951 1984 1987 1988 1991 1994 1995 1999 2001 Deming Prize Canada Award Malcolm Baldrige National Quality Award Australian Business Excellence Awards European Foundation Quality Management Singapore Quality Award Japan Quality Award MBNQA : Education and Healthcare Thailand Quality Award Japan Canada USA Australia EU Singapore Thailand Quality Performance / Organizational Excellence

10 การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เป็นการนำกรอบการดำเนินการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ รวมทั้งหลักเกณฑ์ และแนวคิดของรางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา The Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) และ Thailand Quality Award (TQA) มาศึกษา วิเคราะห์ และเปรียบเทียบ เพื่อพัฒนาเป็นเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ และนำเกณฑ์ดังกล่าวไปส่งเสริมให้ส่วนราชการใช้ในการยกระดับและพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นการดำเนินงาน ที่สอดรับกับกลยุทธ์หลักในการสร้างความเป็นเลิศในระบบราชการ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการพัฒนาระบบราชการของแผน การบริหารราชการแผ่นดิน

11 วัตถุประสงค์ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของภาครัฐให้สอดคล้อง กับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานสู่ระดับมาตรฐานสากล เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินตนเอง และเป็นบรรทัด-ฐานการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐ

12 ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการ กับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการ กับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ พัฒนาองค์กร ผลลัพธ์ การจัดการ กระบวนการ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ การนำ องค์กร การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ 1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3. ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4. ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ 6. อำนวยความสะดวกให้กับประชาชน 7. ประเมินผลการปฏิบัติราชการ พรฎ.

13 ประโยชน์ต่อส่วนราชการในการนำไปใช้
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) 1 ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง 2 ประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ พัฒนาองค์กร ผลลัพธ์ การจัดการ กระบวนการ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ การนำ องค์กร การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ 1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3. ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4. ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ 6. อำนวยความสะดวกให้กับประชาชน 7. ประเมินผลการปฏิบัติราชการ พรฎ. ดำเนินการปรับปรุง 4 สร้างแผนปรับปรุง 3 บูรณาการเครื่องมือและโครงการ ต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects)

14 ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับการประกาศเกียรติคุณ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ Yes ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับการประกาศเกียรติคุณ การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice Sharing) สมัครเข้ารับรางวัล PMQA No ได้รับรายงานป้อนกลับ บูรณาการเครื่องมือและโครงการ ต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects) การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) 1 ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง 2 สร้างแผนปรับปรุง 3 ดำเนินการปรับปรุง 4 ประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ พัฒนาองค์กร ผลลัพธ์ การจัดการ กระบวนการ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ การนำ องค์กร การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ 1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3. ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4. ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ 6. อำนวยความสะดวกให้กับประชาชน 7. ประเมินผลการปฏิบัติราชการ พรฎ.

15 ขั้นตอนการดำเนินการตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ขั้นตอนการดำเนินการตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปี 2549 ระดับ 1 จัดประชุม ให้ความรู้ ระดับ 2 จัดตั้ง คณะทำงาน และแผน การดำเนินการ ระดับ 3 จัดอบรม ผู้ตรวจ ประเมิน ภายใน ระดับ 4 จัดทำ “ลักษณะ สำคัญ ขององค์กร” ระดับ 5 จัดทำรายงาน ผลการ ดำเนินการ เบื้องต้น ปี 2550 ปรับปรุง รายงาน ผลการ ดำเนินการ ดำเนินการ ปรับปรุงแก้ไข ตามแผน การปรับปรุง จัดทำแผน ปรับปรุงแก้ไข ตามลำดับ ความสำคัญ วิเคราะห์ โอกาสในการ ปรับปรุง และจัดลำดับ ดำเนินการ ประเมิน องค์กร ประเมินและปรับปรุงกระบวนการประเมินองค์กรด้วยตนเอง

16 และเป็นกระบวนการต้องดำเนินการต่อเนื่อง ไม่ใช่โครงการเฉพาะกิจ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ เป็นกระบวนการที่มุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้ ไม่ใช่มุ่งเน้นการได้คะแนนสูง และเป็นกระบวนการต้องดำเนินการต่อเนื่อง ไม่ใช่โครงการเฉพาะกิจ

17 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

18 ลักษณะสำคัญของเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
เกณฑ์มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ครอบคลุมทั้งกระบวนการและผลลัพธ์ เกณฑ์สามารถปรับใช้ได้ตามภารกิจของหน่วยงาน เพื่อเสริมสร้างให้ส่วนราชการทำการปรับปรุง ทั้งอย่าง ค่อยเป็นค่อยไปและอย่างก้าวกระโดด เกณฑ์มีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกันภายในเกณฑ์เพื่อให้เกิดการบูรณาการ เชื่อมโยงและใช้ตัวชี้วัดที่มาจากยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ และกระบวนการ ซึ่งจะเชื่อมโยงกับผลลัพธ์การดำเนินการโดยรวม และระหว่างหัวข้อต่าง ๆ ในเกณฑ์

19 ความเชื่อมโยงของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กับสิ่งที่ส่วนราชการดำเนินการอยู่
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุณภาพ คำรับรองการปฏิบัติราชการ พัฒนา องค์กร Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) แผนแม่บทด้านทรัพยากรบุคคล 3-5 ปี (Competency) การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน ระบบควบคุมภายใน Blueprint for Change Capacity Building Redesign Process Knowledge Management e-government MIS

20 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

21 องค์ประกอบของเกณฑ์ ลักษณะสำคัญขององค์กร 2 ข้อ 1. การนำองค์กร 7 หมวด
1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 17 หัวข้อ 30 ประเด็น ที่ควรพิจารณา ก. การกำหนดทิศทางของ ส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการ ขององค์กร 90 คำถาม (1) (2)

22 ประเภทคำถาม : อะไร / อย่างไร
คำถาม เปรียบเสมือนข้อชี้แนะให้พิจารณาในการปฎิบัติงาน อะไร (WHAT) ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการหลักและวิธีปฏิบัติงาน ของกระบวนการนั้น ผล แผนงาน เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ หรือตัวชี้วัดที่สำคัญ อย่างไร (HOW) ให้ข้อมูลของกระบวนการที่สำคัญ เช่น วิธีการ ตัวชี้วัด การนำไปปฏิบัติ และปัจจัยด้านการประเมินผล การปรับปรุงและการเรียนรู้

23 ตัวอย่างคำถาม “อะไร” - พันธกิจหรือหน้าที่ตามกฎหมายของส่วนราชการ
คืออะไรบ้าง กระบวนการ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมาย ของส่วนราชการในการจัดการกับผลกระทบ ในทางลบที่เกิดขึ้นคืออะไร ตัวชี้วัดสำคัญที่ผู้บริหารของส่วนราชการทบทวน เป็นประจำมีอะไรบ้าง

24 ตัวอย่างคำถาม “อย่างไร”
(1)-ผู้บริหารของส่วนราชการดำเนินการอย่างไรในการกำหนด ในเรื่องวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ระยะสั้นและระยะยาว ค่านิยม และผลการดำเนินการที่คาดหวังไว้ รวมทั้งการถ่ายทอด ให้บุคลากรในส่วนราชการนำไปปฏิบัติในการกำหนด ผลการดำเนินการดังกล่าว ผู้บริหารของส่วนราชการได้คำนึงถึงความต้องการหรือผลประโยชน์ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยยึดหลัก ความโปร่งใสและความชัดเจนอย่างไร -ผู้บริหารของส่วนราชการดำเนินการอย่างไรในการสื่อสาร ในเรื่องดังกล่าวแบบ 2 ทิศทางอย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรมไปสู่บุคลากรทุกคน รวมทั้งผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่สำคัญ โดยผ่านระบบการนำองค์กร

25 ตัวอักษรที่เป็นตัวเข้มและเอียง เช่น “ผู้บริหารของส่วนราชการ” จะมี
คำอธิบายเพิ่มเติมที่ “หมายเหตุ” ซึ่งปรากฏอยู่ที่ท้ายของเกณฑ์แต่ละหัวข้อ โดยมีจุดประสงค์ 3 ประการ ดังนี้ (1) อธิบายข้อกำหนดของแต่ละหัวข้อให้ชัดเจน ซึ่งใช้เฉพาะการดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (2) แนะนำวิธีการตอบในแต่ละหัวข้อของเกณฑ์ (3) ชี้ให้เห็นความเชื่อมโยงที่สำคัญกับหัวข้ออื่น เครื่องหมายดอกจัน “(*)” ที่ปรากฏอยู่ที่ท้ายของคำถาม หมายถึง ให้ส่วนราชการตอบตามความเหมาะสมตามภารกิจของส่วนราชการนั้น

26 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

27 ลักษณะสำคัญขององค์กร
ทำให้เข้าใจถึงส่วนราชการและสิ่งที่ส่วนราชการนั้นเห็นว่า มีความสำคัญ ช่วยในการระบุข้อมูลสำคัญที่อาจขาดหายไป และทำให้เกิด การมุ่งเน้นที่ผลสำเร็จของกระบวนการ และผลลัพธ์การดำเนินการ เป็นจุดเริ่มต้นที่เหมาะสมในการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง หากพบว่า เรื่องใดมีข้อมูลไม่เพียงพอหรือข้อมูลขัดแย้งกัน ส่วนราชการสามารถนำเรื่องนั้นไปจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อแก้ไขปรับปรุง โดยยังไม่ต้องประเมินตนเองต่อไป

28 ลักษณะสำคัญขององค์กร
1. ลักษณะองค์กร 2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ ค. ระบบ การปรับปรุง ผลการดำเนินการ

29 การประเมินในสองมิติ :
ระบบการให้คะแนน การประเมินในสองมิติ : กระบวนการ และ ผลลัพธ์

30 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

31 มิติกระบวนการ “กระบวนการ’’ หมายถึง วิธีที่องค์กรใช้และปรับปรุง เพื่อตอบสนองข้อกำหนดต่างๆ ของหัวข้อ ในหมวด 1-6 ปัจจัยทั้ง 4 ที่ใช้ประเมินกระบวนการ ได้แก่ แนวทาง (Approach - A) การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ (Deployment - D) การเรียนรู้ (การทบทวนและปรับปรุง) (Learning - L) การบูรณาการ (Integration - I)

32 แนวทาง (Approach) “แนวทาง” หมายถึง
วิธีการที่ใช้เพื่อให้กระบวนการบรรลุผล ความเหมาะสมของวิธีการที่ตอบสนองข้อกำหนดของหัวข้อต่างๆ ความมีประสิทธิผลของการใช้วิธีการต่างๆ ของส่วนราชการ ระดับของการที่แนวทางนั้นนำไปใช้ซ้ำได้ และอยู่บนพื้นฐานของข้อมูลและสารสนเทศที่เชื่อถือได้ (ซึ่งหมายถึง การดำเนินการอย่างเป็นระบบ) แนวทางที่เป็นระบบ คือ แนวทางนั้นใช้ซ้ำได้ และใช้ข้อมูล และสารสนเทศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ หรืออาจกล่าวได้ว่า แนวทาง มีความเป็นระบบ เมื่อแนวทางนั้น มีการประเมิน การปรับปรุง นวัตกรรม และการแลกเปลี่ยน ซึ่งจะส่งผลให้แนวทางนั้นมีระดับการพัฒนามากขึ้น

33 การนำไปปฏิบัติ (Deployment)
“การนำไปปฏิบัติ” หมายถึง ความครอบคลุมและทั่วถึง ของ การใช้แนวทางเพื่อตอบสนองข้อกำหนดต่างๆ ของหัวข้อ ที่มีความเกี่ยวข้องและสำคัญต่อส่วนราชการ การใช้แนวทางอย่างคงเส้นคงวา (Consistent) การใช้แนวทางในทุกหน่วยงานที่ควรใช้

34 การเรียนรู้ (การทบทวนและปรับปรุง) (Learning)
“การเรียนรู้” (การทบทวนและปรับปรุง) หมายถึง การปรับปรุงแนวทางให้ดีขึ้น โดยใช้วงจรการประเมิน และการปรับปรุง การกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดด ของแนวทาง โดยใช้นวัตกรรม การแบ่งปันความรู้จากการปรับปรุงที่ดีขึ้นและนวัตกรรม กับหน่วยงานและกระบวนการอื่นที่เกี่ยวข้องภายใน ส่วนราชการ

35 การบูรณาการ (Integration)
“การบูรณาการ” หมายถึง ความครอบคลุมและทั่วถึง ของ การใช้แนวทางที่สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันกับ ความต้องการของส่วนราชการตามที่ระบุไว้ในข้อกำหนด ของหัวข้อต่างๆ ในเกณฑ์ การใช้ตัวชี้วัด สารสนเทศ และระบบการปรับปรุงที่ช่วยเสริมกระบวนการและหน่วยงานทั่วทั้งส่วนราชการ แผนงาน กระบวนการ ผลลัพธ์ การวิเคราะห์ การเรียนรู้ และการปฏิบัติการ มีความสอดคล้องกลมกลืนกันทุกกระบวนการและหน่วยงาน เพื่อสนับสนุนเป้าประสงค์ระดับองค์กร

36 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

37 หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม
ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนิน-การของ ส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม ข. การดำเนิน-การอย่างมี จริยธรรม ค. การให้ การสนับสนุนต่อชุมชน ที่สำคัญ การกำหนดวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ ค่านิยมและผลการดำเนินการ และสื่อสาร และถ่ายทอด ไปสู่การปฏิบัติ การสร้างบรรยากาศให้เกิดการกระจายอำนาจการตัดสินใจ นวัตกรรม ความคล่องตัว การเรียนรู้ ถูกต้องตามกฎหมายและจริยธรรม ความรับผิดชอบด้านการดำเนินการ ด้านการเงิน และการปกป้องผลประโยชน์ ของประเทศ การทบทวน ผลการดำเนินการ และใช้มาประเมินความสำเร็จ และตอบสนองความต้องการ ที่เปลี่ยนแปลงไป ตัวชี้วัดที่ทบทวน และผลการทบทวนที่ผานมา การดำเนินการ ในกรณีที่การปฏิบัติงาน มีผลกระทบ ต่อสังคม กระบวนการ ตัวชี้วัด และเป้าประสงค์ในการจัดการความเสี่ยง การคาดการณ์ล่วงหน้า และเตรียมการ เขิงรุก การกำหนดวิธีปฏิบัติในการดำเนินการอย่างมีจริยธรรม การสนับสนุน และสร้าง ความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน ที่สำคัญ และการที่ผู้บริหารและบุคลากร มีส่วนร่วม ในการพัฒนาชุมชน

38 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

39 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลัก เพื่อนำไปปฏิบัติ ก. กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ ก. การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ กระบวนการวางแผน ยุทธศาสตร์ การรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล และสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้อง ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธ-ศาสตร์ กลยุทธ์หลักตารางเวลาในการบรรลุ และลำดับความสำคัญ การให้ความสำคัญกับความท้าทายต่อองค์กร และความสมดุลระหว่างความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การถ่ายทอดแผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฎิบัติ การจัดสรรทรัพยากร และทำให้ผล ที่เกิดขึ้นยั่งยืน แผนปฏิบัติการที่สำคัญ และการดำเนินการเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลง แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน และการทำให้ระบบการวัดผลเสริมให้ส่วนราชการมุ่งไปในแนวทางเดียวกัน การคาดการณ์ผลการ ดำเนินการ และเปรียบเทียบกับเป้าประสงค์เชิงยุทธ-ศาสตร์ ผลการดำเนินการ ที่ผ่านมา ผลการดำเนินการที่คาดไว้ของคู่แข่ง และระดับเทียบเคียง

40 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

41 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์ และความพึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การกำหนดหรือจำแนกกลุ่มผู้รับบริการฯ รวมถึงผู้รับบริการในอนาคต การรับฟังและเรียนรู้ความต้องการและความคาดหวัง และนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนปฏิบัติงาน การปรับปรุงกระบวนการ และการพัฒนาบริการใหม่ ๆ การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการฯ กลไกการขอข้อมูล ขอรับบริการ หรือร้องเรียน การกำหนดวิธีปฏิบัติ และทำให้มั่นใจว่าบุคลากรปฏิบัติตาม กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน และทำให้มั่นใจว่าได้รับการแก้ไข การรวบรวมและวิเคราะห์เพื่อใช้ปรับปรุงการดำเนินการ การทำให้แนวทางในการสร้างความสัมพันธ์และช่องทางติดต่อเหมาะสมและทันสมัย การวัดความพึงพอใจ และไม่พึงพอใจของผู้รับบริการฯ แต่ละกลุ่ม และนำผลไปปรับปรุงการดำเนินการ การติดตามช้อมูลป้อนกลับ การหาและใช้ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบด้านความพึงพอใจของผู้รับบริการฯ การทำให้แนวทางการวัด ความพึงพอใจเหมาะสม และทันสมัย

42 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

43 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศ และความรู้ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ก. ความพร้อม ใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ ข. การจัดการ ความรู้ การเลือกและรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศ ที่สอดคล้อง และเชื่อมโยงกัน การเลือกข้อมูล และสารสนเทศ เชิงเปรียบเทียบ มาสนับสนุนการตัดสินใจ และนวัตกรรม การทำให้ระบบการวัดผลเหมาะสมและทันสมัย และไวในการบ่งชี้ การเปลี่ยนแปลง การวิเคราะห์ ที่ให้ผู้บริหาร นำผลมาใช้ทบทวน ผลการดำเนินการ และวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ การสื่อสาร ผลการวิเคราะห์ เพื่อสนับสนุน การตัดสินใจ ในการปฏิบัติงาน การทำให้ข้อมูล และสารสนเทศ พร้อมใช้งาน และสามารถเข้าถึง การทำให้อุปกรณ์ ที่เกี่ยวกับสารสนเทศเชื่อถือได้ ปลอดภัย และใช้งานง่าย การทำให้ข้อมูล และสารสนเทศ และอุปกรณ์เหมาะสมและทันสมัย การจัดการความรู้ การทำให้ข้อมูล และสารสนเทศ และความรู้ มีความครอบคลุม รวดเร็ว ถูกต้อง ทันสมัย เชื่อมโยง น่าเชื่อถือ สามารถเข้าถึง สามารถตรวจสอบ การมีส่วนร่วมในกระบวนการข้อมูล ปลอดภัย และรักษาความลับ

44 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

45 หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
5.1 ระบบบงาน 5.2 การเรียนรู้ ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ 5.3 การสร้างความผาสุกและความพึงพอใจ ของบุคลากร ก. การจัด และบริหารงาน ข. ระบบ การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้า ในหน้าที่การงาน ก. สภาพแวดล้อม ในการทำงาน ข. การให้การสนับสนุนและสร้างความพึง-พอใจแก่บุคลากร การจัดโครงสร้างองค์กร และระบบ การทำงาน เพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ความคิดริเริ่ม การกระจายอำนาจ การตัดสินใจ นวัตกรรม การคำนึงถึงวัฒนธรรม และความคิด ที่หลากหลาย การทำให้ การสื่อสาร การแลกเปลี่ยนความรู้ หรือทักษะ มีประสิทธิผล ระบบ การประเมินผล และการแจ้งผลเพื่อให้เกิด การพัฒนา และปรับปรุงงาน การยกย่องชมเชย การให้รางวัลและสิ่งจูงใจ การกำหนดคุณลักษณะ และทักษะ การสรรหาว่าจ้างและรักษาบุคลากร การเตรียมบุคลากรสำหรับตำแหน่งสำคัญ และการสร้างความก้าวหน้า การส่งเสริมสุขอนามัย ความปลอดภัย การป้องกันภัย การปรับปรุงสภาพแวดล้อม และบุคลากรมีส่วนร่วม การทำให้สถานที่ทำงานเตรียมพร้อม ต่อภาวะฉุกเฉิน และภัยพิบัติ การกำหนดปัจจัยความผาสุก ความพึงพอใจ และแรงจูงใจ สำหรับแต่ละกลุ่ม การบริการ สวัสดิการ และนโยบาย การกำหนดตัวชี้วัดและวิธีการประเมิน ที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ การนำผล การประเมิน มากำหนดลำดับความสำคัญ ในการปรับปรุง ก. การพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนา ความ ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน การหาความต้องการ ในการฝึกอบรม การส่งเสริมการใช้ความรู้และทักษะใหม่ การจูงใจให้พนักงานพัฒนาตนเองและใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่

46 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

47 หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการสนับสนุน การกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า การออกแบบกระบวนการโดยนำปัจจัยที่สำคัญมาประกอบ และบูรณาการกับส่วนราชการอื่น การนำกระบวนการไปปฏิบัติให้บรรลุผลตามข้อกำหนด ที่สำคัญ การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบ และตรวจประเมิน และป้องกันไม่ใช้เกิดข้อผิดพลาด ทำงานซ้ำ และความสูญเสีย การปรับปรุงกระบวนการให้ดีขึ้น และนำมาเผยแพร่แลกเปลี่ยนภายในและระหว่างหน่วยงาน การกำหนดกระบวนการสนับสนุน การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสนับสนุน การออกแบบกระบวนการโดยนำปัจจัยที่สำคัญมาประกอบ และบูรณาการกับส่วนราชการอื่น การนำกระบวนการไปปฏิบัติให้บรรลุผลข้อกำหนด ที่สำคัญ การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบ และตรวจประเมิน และป้องกันไม่ใช้เกิดข้อผิดพลาด ทำงานซ้ำ และความสูญเสีย การปรับปรุงกระบวนการให้ดีขึ้น และนำมาเผยแพร่แลกเปลี่ยนภายในและระหว่างหน่วยงาน

48 การประเมินในสองมิติ :
ระบบการให้คะแนน การประเมินในสองมิติ : กระบวนการ และ ผลลัพธ์

49 มิติผลลัพธ์ “ผลลัพธ์” หมายถึง ผลผลิต และผลลัพธ์ ขององค์กร ในการบรรลุตามข้อกำหนดในหัวข้อ 7.1 – 7.4

50 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

51 ปัจจัย 4 ประการที่ใช้ประเมินผลลัพธ์
ระดับของผลการดำเนินการในรอบปีที่ผ่านมา อัตราการเปลี่ยนแปลง (เช่น ความลาดชันของแนวโน้ม ของข้อมูล) และความครอบคลุม (เช่น การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติและการแบ่งปันอย่างกว้างขวาง) ของการปรับปรุง ผลการดำเนินการ ผลการดำเนินการของส่วนราชการเปรียบเทียบกับตัวเปรียบเทียบ และ/หรือ ระดับเทียบเคียง ที่เหมาะสม การเชื่อมโยงของตัววัดผลต่างๆ (มักแสดงผลตามกลุ่มที่จำแนกไว้) กับผลการดำเนินการด้านผลผลิตและบริการ ผู้รับบริการ และ ผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย กระบวนการและแผนปฏิบัติการที่สำคัญๆ ที่ได้ระบุไว้ใน “ลักษณะสำคัญขององค์กร” และในหัวข้อกระบวนการต่าง ๆ (ในหมวด 1-6)

52 หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
7.1 มิติ ด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ 7.2 มิติ ด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.3 มิติ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.4 มิติ ด้านการพัฒนา องค์กร ผลผลการดำเนินการ ด้านการบรรลุความสำเร็จ ของยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติงาน ผลการดำเนินการ ด้านการบูรณาการ กับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกันในการให้บริการ หรือการปฏิบัติงาน (*) ผลการดำเนินการ ด้านความพึงพอใจ และไม่พึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลการดำเนินการ ด้านการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ผลการดำเนินการ ด้านการมีส่วนร่วม ของประชาชน ผลการดำเนินการที่สำคัญอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลการดำเนินการ ด้านประสิทธิภาพ ของการใช้งบประมาณ ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน ผลการดำเนินการ ด้านการเรียนรู้ และพัฒนาของบุคลากร ผลการดำเนินการ ด้านความผาสุก ความพึงพอใจ และไม่พึงพอใจ ของบุคลากร ผลการดำเนินการ ด้านการจัดการความรู้ ผลการดำเนินการ ด้านการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ ผลการดำเนินการ ด้านการพัฒนากฎหมาย ผลการดำเนินการ ด้านการเป็นองค์กร ที่สนับสนุนชุมชนที่สำคัญ

53 แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ รางวัลคุณภาพแห่งชาติ Thailand Quality Award Malcolm Baldrige National Quality Award

54 ติดต่อสอบถาม สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
โทรศัพท์ ต่อ 8841, 8985 โทรสาร สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ฝ่ายปรึกษาแนะนำและฝึกอบรม โทรศัพท์ ต่อ 545, โทรสาร


ดาวน์โหลด ppt กำหนดการ : วันที่ 1 ของการอบรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google