งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Asst.Prof.Dr.Surasak Mungsing

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Asst.Prof.Dr.Surasak Mungsing"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Asst.Prof.Dr.Surasak Mungsing
LMS: Moodle Asst.Prof.Dr.Surasak Mungsing

2 Learning Management System
LMS เป็นระบบที่ใช้บริหารจัดการการเรียนรู้ที่อำนวยความ สะดวกในการจัดกลุ่มเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้ การสื่อสาร โต้ตอบระหว่างผู้สอน (Instructor/Teacher) กับผู้เรียน (Student) รวมทั้งการสร้างแบบทดสอบ การทดสอบและการ ประเมินผลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยโปรแกรมที่ใช้สร้าง ระบบ LMS ในปัจจุบันมีให้เลือกอยู่ 2 ลักษณะ Open Source LMS Commercial LMS

3 Open Source LMS ที่มีลิขสิทธิ์แบบ GPL
Moodle ( Atutor ( Claroline ( VClass ( เป็น lms สัญชาติไทย พัฒนาโดย ศูนย์ Distributed Education Center สถาบันเทคโนโลยีแห่ง เอเซีย (AIT) Sakai ( ILIAS ( LearnSquare ( เป็น lms สัญชาติ ไทย พัฒนาโดยทีมงาน NECTEC etc.

4 Commercial LMS Blackboard Learning System - ตัวอย่างการใช้งานที่ Sasin Chula WebCT ( IBM Lotus Learning Management System Education Sphere ( - Sum Systems Management Co., Ltd. Dell Learning System (DLS) > De-Learn ( - Data E-Learning Co., Ltd. i2 LMS ( - Progress Information Co.,Ltd etc.

5 What is Moodle? มูเดิ้ล (Moodle = Modular Object-Oriented Dynamic Learning Environment) คือ โปรแกรมที่ประมวลผลในเครื่อง บริการ (Server-Side Script) ทำหน้าที่ให้บริการระบบอีเลินนิ่ง ทำให้ผู้ดูแลระบบสามารถเปิดบริการแก่ครู และนักเรียน ผ่าน บริการ 2 ระบบ 1. ระบบซีเอ็มเอส หรือระบบจัดการเนื้อหา (CMS = Course Management System) บริการให้ครูสามารถจัดการเนื้อหา เตรียมเอกสาร สื่อมัลติมีเดีย แบบฝึกหัดตามแผนการจัดการเรียนรู้ 2. ระบบแอลเอ็มเอส หรือระบบจัดการเรียนรู้ (LMS = Learning Management System) บริการให้นักเรียนเข้าเรียนรู้ตามลำดับ ตาม ช่วงเวลา ตามเงื่อนไขที่ครูได้จัดเตรียมอย่างเป็นระบบ และประเมินผลการ เรียนรู้ของนักเรียน พร้อมแสดงผลการตัดเกรดอัตโนมัติ

6 Moodle ผู้พัฒนามูเดิ้ล คือ Martin Dougiamas โปรแกรมมีลักษณะ เป็นโอเพนท์ซอร์ท (Open Source) ภายใต้ข้อตกลงของจีพี แอล (General Public License) สามารถดาวน์โหลดไปใช้งาน ได้ฟรีจาก moodle.org โดยผู้ดูแลระบบ (Admin) นำไปติดตั้ง ในเครื่องบริการ (Server) ที่บริการเว็บเซอร์ฟเวอร์ (Web Server) รองรับภาษาพีเอชพี (PHP Language) และมายเอสคิว แอล(MySQL) ปัจจุบันมีโปรแกรมที่ทำหน้าที่เป็นเพียงระบบซีเอ็มเอส(ไม่มี ระบบแอลเอ็ม เอสในตัว) สามารถสร้างวัตถุเรียนรู้จากนอกมูเดิ้ล แล้วนำเข้าไปใช้งานในมูเดิ้ล เช่น สกอร์ม (SCORM = Sharable Content Object Reference Model) ที่สามารถ นำไปติดตั้งเป็นส่วนหนึ่งในมูเดิ้ล หรือโปรแกรมเลินสแควร์ (Learnsquare) ได้

7 Benefits of using Moodle
เป็น Open Source ที่ได้รับการยอมรับ (13,544 sites from 158 countries ) รองรับทั้ง ซีเอ็มเอส(CMS = Course Management System) และ แอล เอ็มเอส(LMS = Learning Management System) เป็นแหล่งเผยแพร่เอกสารออนไลน์ เช่น Microsoft Office, Web Page, PDF หรือ Image เป็นต้น มี ระบบติดต่อสื่อสารระหว่างนักเรียน เพื่อนร่วมชั้น และครู เช่น chat หรือ webboard เป็นต้น มี ระบบแบบทดสอบ รับการบ้าน และกิจกรรม ที่รองรับระบบให้คะแนนที่ หลากหลาย สำรองข้อมูลเป็น .zip แฟ้มเดียวได้ ทำให้ครูหรือนักเรียนนำไปกู้คืนใน เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใดก็ได้ ผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์ และใจกว้าง ส่งเสริมเรื่องนี้เพราะ ครูได้ทำหน้าที่ นักเรียนได้เรียนรู้ และสถาบันยกระดับการให้บริการ

8 Requirements สิ่งที่ควรมี ก่อนใช้มูเดิ้ล
มี Web Browser เพื่อติดต่อกับโปรแกรม Moodle จำเป็นทั้ง ต่อผู้สอน และผู้เรียน มี Web Server เพื่อบริการรับการเชื่อมต่อเข้าไป โดยรองรับ ภาษา php และฐานข้อมูล mysql มี ผู้ติดตั้ง (Installer) และ ผู้ดูแลระบบ (Admin) เพื่อทำให้ ระบบเกิดขึ้น และให้บริการแก่ผู้ใช้ มีผู้บริหาร ผู้สอน และผู้เรียน ที่ยอมรับเทคโนโลยี ดัง Moodle เหมาะสำหรับผู้เรียนที่รับผิดชอบ ผู้สอนที่มุ่งมั่น และผู้บริหาร ที่ให้งบประมาณ มีการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่าย (Network) เช่น อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต หรือ LAN

9 จำนวนเว็บไซต์ที่ใช้ Moodle
There are currently active sites that have registered from 210 countries.

10 บทบาทของผู้เข้าใช้มูเดิ้ล
ผู้ดูแล (Admin) มีหน้าที่ ติดตั้งระบบ บำรุงรักษา กำหนดค่าเริ่มต้น กำหนดสิทธ์การเป็นครู แก้ไขปัญหา ให้แก่ผู้สอน และผู้เรียน ผู้สอน มีหน้าที่ เพิ่มแหล่งข้อมูล เพิ่มกิจกรรม ให้ คะแนน ตรวจสอบกิจกรรม ตอบคำถาม และ ติดต่อสื่อสารกับนักเรียน ผู้เรียน มีหน้าที่ เข้าศึกษาแหล่งข้อมูล และทำกิจกรรม ตามแผนการสอน ผู้เยี่ยมชม (Guest) สามารถเข้าเรียนได้เฉพาะวิชาที่ อนุญาต และถูกจำกัดสิทธ์ในการทำกิจกรรม

11 Resources 1. Plain Text - การเขียนข้อความตามปกติ 2. Webpage - การเขียนตามแบบเว็บเพจ 3. Link - การสร้างจุดเชื่อมโยงแฟ้ม หรือเว็บไซต์ภายนอก 4. Directory - การแสดงรายชื่อแฟ้มในดาวน์โหลด 5. Label - การเขียนข้อความประกาศอย่างสั้น

12 Activities Scorm คือ แหล่งข้อมูลที่รวมเนื้อหา หรือแฟ้มข้อมูลจากภายนอก ถูก ยอมรับเป็นมาตรฐานหนึ่งของ Learning Object wiki คือ ระบบจัดการนิยามศัพท์ หรือให้ความหมายที่ยืดหยุ่น เป็นระบบ เปิดที่เข้าจัดการแต่ละความหมายร่วมกันได้ Webboard คือ แหล่งที่เปิดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยการแสดงความ คิดเห็น หรือถามตอบ Assignment คือ การมอบหมายให้ทำงานแล้วกลับมาส่ง ด้วยการอัพโหลด พิมพ์คำตอบ หรือส่งนอกเว็บไซต์ก็ได้ Lesson คือ เนื้อหาบทเรียนที่ออกแบบเส้นทางการศึกษา ที่แต่ละเนื้อหามี คำถามประเมินความเข้าใจก่อนไปเนื้อหาต่อไป

13 Activities 6. Workshop - การกำหนดกิจกรรมอย่างเป็นระบบ สามารถให้คะแนนทีละ องค์ประกอบ หรือทีละระดับได้ 7. Chat - การสนทนาระหว่างผู้เรียน กับผู้สอน หรือระหว่างผู้เรียนด้วยกัน แบบออนไลน์ในเวลาจริง ผ่านแป้นพิมพ์ 8. Glossary - ให้นักเรียนได้ร่วมกันสร้างพจนานุกรมออนไลน์ โดยให้ ความหมายแก่ศัพท์ทีละคำ 9. Quiz - ข้อสอบวัดผลการเรียนรู้ เพื่อประเมินก่อนเรียน หรือหลังเรียน 10. Survey - การสอบถามที่ใช้รูปแบบคำถามที่แตกต่างกัน อาจนำผลมาใช้ ปรับปรุงการสอนได้ 11. Poll - การสอบถามความคิดเห็น เพื่อระดมความคิดเห็นอย่างเร็ว ใน ประเด็นใดประเด็นหนึ่ง

14 กิจกรรมของผู้สอน 1. สมัครสมาชิกด้วยตนเอง และรอผู้ดูแล อนุมัติ ให้เป็นผู้สอน หรือผู้สร้างคอร์ส 2.ผู้สอนสร้างคอร์ส และกำหนดลักษณะของคอร์สด้วยตนเอง 3. เพิ่ม เอกสาร บทเรียน และลำดับเหตุการณ์ตามความเหมาะสม 4. ประกาศข่าวสาร หรือนัดสนทนา กับนักเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต 5. สามารถสำรองข้อมูลในวิชา เก็บเป็นแฟ้มเพียงแฟ้มเดียวได้ 6. สามารถกู้คืนข้อมูลที่เคยสำรองไว้ หรือนำไปใช้ในเครื่องอื่น 7. สามารถดาวน์โหลดคะแนนผู้เรียนที่ถูกบันทึกจากการทำกิจกรรม ไป ประมวลผลใน Excel 8. กำหนดกลุ่มผู้เรียน เพื่อสะดวกในการจัดการนักเรียนจำนวนมาก 9. ยกเลิกนักเรียนในรายวิชา ถ้าพบว่ามีความประพฤติไม่เหมาะสม หรือเข้าเรียน ผิดรายวิชา 10. ตรวจสอบกิจกรรมของผู้เรียนแต่ละคน เช่น ความถี่ในการอ่านบทเรียน หรือ คะแนนในการสอบ 11. เพิ่มรายการนัดหมาย หรือกิจกรรม แสดงด้วยปฏิทิน 12. สร้างเนื้อหาใน SCORM หรือสร้างข้อสอบแบบ GIFT แล้วนำเข้าได้สู่ระบบ

15 กิจกรรมของผู้เรียน สมัครสมาชิกด้วยตัวนักเรียนเองได้
รออนุมัติการเป็นสมาชิก และสมัครเข้าเรียนแต่ละวิชาด้วย ตนเอง (บางระบบ สามารถสมัคร และเข้าเรียนได้ทันที) เรียนรู้จากเอกสาร หรือบทเรียน ที่ครูกำหนดให้เข้าไปศึกษา ตามช่วงเวลาที่เหมาะสม ฝากคำถาม หรือข้อคิดเห็น หรือสนทนาระหว่าง(สอนและผู้เรีย ทำกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น ทำแบบฝึกหัด หรือส่ง การบ้าน แก้ไขข้อมูลส่วนตัวของตนเองได้ เรียนรู้ข้อมูลของผู้สอน เพื่อนนักเรียนในชั้น หรือในกลุ่ม เพื่อ สร้างความคุ้นเคยได้

16 E-Learning

17 คู่มือการติดตั้ง Moodle
nstall.html

18 Q&A


ดาวน์โหลด ppt Asst.Prof.Dr.Surasak Mungsing

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google