งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์โคเนื้อและกระบือ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์โคเนื้อและกระบือ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์โคเนื้อและกระบือ
กลุ่มวิจัยและพัฒนาระบบฟาร์มปศุสัตว์

2 สถานการณ์โคเนื้อปัจจุบัน

3 สถิติจำนวนโคเนื้อในประเทศไทย ปี 2546 - 2550
พ.ศ. จำนวนโคเนื้อ (ตัว) % เปลี่ยนแปลง จำนวนเกษตรกรผู้เลี้ยง โคเนื้อ เพิ่ม/ลด เกษตรกร 2546 5,900,236 + 350,000 6.3 991,000 + 28,567 3.2 2547 6,668,332 + 752,009 12.7 1,020,657 + 29,567 3.0 2548 7,796,272 + 1,127,940 16.9 1,202,306 + 181,649 17.8 2549 8,036,057 + 239,785 3.1 1,226,005 + 23,699 1.9 2550 8,848,392 + 812,335 10.1 1,373,219 + 147,214 12.0 เฉลี่ย 656,413 9.8 82,139 7.6 ที่มา : ศูนย์สารสนเทศ กรมปศุสัตว์

4 สถิติจำนวนโคเนื้อ แยกเป็นรายภาค ในปี 2550
พื้นที่ จำนวนโคเนื้อ คิดเป็น % ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4,501,769 50.9 ภาคเหนือ 1,953,406 22.1 ภาคกลาง 1,516,298 17.1 ภาคใต้ 876,919 9.9 รวม 8,848,392 100 ที่มา : ศูนย์สารสนเทศ กรมปศุสัตว์

5

6 ด้านการผลิตเนื้อโค 1. เกษตรกรผู้เลี้ยงโค 1.37 ล้านครอบครัว
1. เกษตรกรผู้เลี้ยงโค ล้านครอบครัว 2. จำนวนโค ล้านตัว - เป็นพันธุ์พื้นเมือง ล้านตัว (60%) - เป็นพันธุ์ลูกผสม ล้านตัว (40%) 2.1 เพศผู้ ล้านตัว (27%) 2.2 เพศเมีย ล้านตัว (73%) - วัยเจริญพันธุ์ ล้านตัว (40%) - ผลิตลูกได้ ล้านตัว/ปี (55%)

7 พันธุ์โคเนื้อที่กรมปศุสัตว์ส่งเสริม
พันธุ์พื้นเมือง พันธุ์บราห์มัน พันธุ์ลูกผสม 5.3 ล้านตัว (60%) 3.24 ล้านตัว (36.7%) 0.3 ล้านตัว (3.3%)

8 1. ระบบการเลี้ยงโคเชิงธุรกิจ
เกษตรกร 38,135 ราย (2.0%) โคเนื้อ 1.55 ล้านตัว (17.5%)

9 2. ระบบการเลี้ยงโคแบบปล่อยตามทุ่งหญ้าธรรมชาติ
เกษตรกร ล้านครอบครัว (98.0%) โคเนื้อ 7.29 ล้านตัว (82.5%)

10 ด้านการแปรรูป โรงฆ่าสัตว์ที่ได้รับอนุญาต 255 แห่ง
โรงฆ่าสัตว์ที่ได้รับอนุญาต แห่ง - โรงฆ่าเฉพาะโค กระบือ 117 แห่ง - โรงฆ่าโค กระบือ และสุกร แห่ง - โรงฆ่าได้มาตรฐานส่งออก แห่ง โรงงานแปรรูป 73 แห่ง (ทำลูกชิ้น) โรงงานฟอกหนัง แห่ง โรงงานกระดูกป่น 8 แห่ง

11 ตลาดโคมีชีวิต จำนวนตลาดนัด 178 แห่ง จำนวนโคที่ซื้อขาย 2.62 ล้านตัว
จำนวนตลาดนัด แห่ง จำนวนโคที่ซื้อขาย ล้านตัว มูลค่า 30,160 ล้านบาท

12 ตลาดระดับล่าง ได้แก่ เขียงตลาดสด โรงงานลูกชิ้น เนื้อโคมาจาก
โคพันธุ์พื้นเมือง และลูกผสมพื้นเมือง แม่โคนมปลดระวาง โคพม่า (ไม่ขุน) ลูกโคนมหย่านม (ไม่ขุน) ผลิตเนื้อได้ 73,360 ตัน หรือ 43%

13 ตลาดระดับกลาง ได้แก่ ตลาดสดขนาดใหญ่ ห้างสรรพสินค้า เนื้อโคมาจาก
ตลาดระดับกลาง ได้แก่ ตลาดสดขนาดใหญ่ ห้างสรรพสินค้า เนื้อโคมาจาก โคมันหรือโคขุนระยะสั้นๆ โคลูกผสมบราห์มัน โคนมเพศผู้ขุน โคพม่าขุน ผลิตเนื้อได้ 81,790 ตัน หรือ 54%

14 ตลาดระดับสูง ได้แก่ โรงแรม ภัตตาคาร ร้านสเต็กห้างสรรพสินค้า เนื้อโคมาจาก
สหกรณ์ปศุสัตว์โพนยางคำ (Thai-French Beef) สหกรณ์โคเนื้อกำแพงแสน (KU-Beef) ลุงเชาว์ฟาร์ม (Beef Pro.) สหกรณ์หนองสูง ผลิตเนื้อได้ 3,476 ตัน หรือ 2% นำเข้าจากต่างประเทศ 1,921 ตัน หรือ 1%

15 การนำเข้าและส่งออกโคเนื้อ ปี 50
รายการ นำเข้า ส่งออก จำนวน มูลค่า (ล้านบาท) โคมีชีวิต (ตัว) 12,360 51.1 4,924 33.18 เนื้อโคแช่แข็ง แช่เย็น (ตัน) 1,908 325.81 - เนื้อโคสุก (ตัน) 177.89 17.96 หนังโค (ตัน) 41,703 11,408 35,423 14,383 กระดูก (ตัน) 2,905.8 27.3 2,418 125.5 เครื่องใน (ตัน) 4,573 82.01 ที่มา : กรมศุลกากร

16 การนำเข้าและส่งออกโคเนื้อ ปี 51 (ม.ค. – ก.ย.)
รายการ นำเข้า ส่งออก ปริมาณ มูลค่า (ล้านบาท) โคมีชีวิต (ตัว) 7,291 36.51 41,954 305.57 เนื้อโคติดกระดูก แช่เย็น แช่แข็ง (ตัน) 97.9 20.49 - เนื้อโคไม่ติดกระดูก แช่เย็น แช่แข็ง (ตัน) 1,096.4 240.29 รวมเนื้อโคทั้งหมด 1,194.3 260.78 ที่มา : กรมศุลกากร

17 สถานการณ์กระบือปัจจุบัน

18 สถิติจำนวนกระบือในประเทศไทย ปี 2546 - 2550
พ.ศ. จำนวนกระบือ (ตัว) % เปลี่ยนแปลง จำนวนเกษตรกรผู้เลี้ยง กระบือ เพิ่ม/ลด เกษตรกร 2546 1,632,706  15,348 0.9 461,152  9,869 2.2 2547 1,624,914  7,792 0.5 393,352  67,800 14.7 2548 1,494,238  130,676 8.0 371,086  22,266 5.6 2549 1,351,851  142,387 10.5 300,929  70,152 23.3 2550 1,577,798 + 225,947 14.0 377,816 + 76,887 30.3 เฉลี่ย  14,051 6.8  18,640 15.2 ที่มา : ศูนย์สารสนเทศ กรมปศุสัตว์

19 สถิติจำนวนกระบือ แยกเป็นรายภาค ในปี 2550
พื้นที่ จำนวนกระบือ คิดเป็น % ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1,175,643 74.5 ภาคเหนือ 225,923 14.4 ภาคกลาง 129,866 8.2 ภาคใต้ 46,136 2.9 รวม 1,577,568 100 ที่มา : ศูนย์สารสนเทศ กรมปศุสัตว์

20

21 ด้านการผลิตเนื้อกระบือ
1. เกษตรกรผู้เลี้ยงกระบือ ล้านครอบครัว 2. จำนวนกระบือ ล้านตัว 2.1 เพศผู้ ล้านตัว 2.2 เพศเมีย ล้านตัว - วัยเจริญพันธุ์ ล้านตัว - ผลิตลูกได้ ล้านตัว/ปี

22 การฆ่าและบริโภคเนื้อกระบือ
ขออนุญาตฆ่า 87,144 ตัว คาดว่าฆ่าจริง 261,000 ตัว ผลิตเนื้อกระบือได้ 36,279 ตัน เฉลี่ยบริโภค กก. / คน / ปี

23 การนำเข้าและส่งออกกระบือ ปี 51 (ม.ค. – ก.ย.)
รายการ นำเข้า ส่งออก ปริมาณ มูลค่า (ล้านบาท) กระบือมีชีวิต (ตัว) 7,951 36.75 56,882 127.82 เนื้อกระบือติดกระดูก แช่เย็น แช่แข็ง (ตัน) 2.6 0.79 - เนื้อกระบือไม่ติดกระดูก แช่เย็น แช่แข็ง (ตัน) 54.7 23.64 รวมเนื้อกระบือทั้งหมด 57.3 24.43 ที่มา : กรมศุลกากร

24 ปัญหาด้านการส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อ ที่ผ่านมา

25 ราคาโคเนื้อมีชีวิตตกต่ำ 30-38 บาท/กก. สาเหตุจาก
ราคาโคเนื้อมีชีวิตตกต่ำ บาท/กก. สาเหตุจาก ค่านิยมเลี้ยงโคสวยงามลดลง มีการลักลอบนำเข้าเนื้อเถื่อน มีโรงฆ่าสัตว์เถื่อน เกิดจากภาวะเศรษฐกิจของผู้บริโภค อาหารสัตว์มีราคาแพง เกษตรกรมีการเลี้ยงโคมากขึ้น ค่านิยมการบริโภคเนื้อโคลดลง เกษตรกรเปลี่ยนอาชีพจากการเลี้ยงโคไปปลูกพืชเศรษฐกิจ ด้านกลไกตลาด

26 แนวทางแก้ไข จดทะเบียนฟาร์มผู้เลี้ยงโคเนื้อ
ขึ้นทะเบียนผู้จำหน่ายเนื้อโค - กระบือ ประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการบริโภคเนื้อโคที่ถูกต้อง ตรวจสอบโรงงานผลิตลูกชิ้นเนื้อโค เข้มงวดตรวจสอบการลักลอบนำเข้าเนื้อโคจากต่างประเทศ สนับสนุนการส่งออกโคไปต่างประเทศ

27 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์โคเนื้อและกระบือ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google