ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSasikarn Kriangsak ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
การประชุมคณะกรรมการความปลอดภัย ทางชีวภาพระดับสถาบัน ภูมิภาค ประจำปี 2551 ครั้งที่ 3/2551 ภูมิภาคกลาง 27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
2
จุดแข็ง องค์ประกอบ IBC มีความเหมาะสม (ผู้บริหารเป็นประธาน-เห็นความสำคัญ/ กำหนดเป็นนโยบายได้/การสนับสนุนงบประมาณ, มีบุคคลภายนอก-มีความโปร่งใส) มีการประชุมสม่ำเสมอ/ ต่อเนื่อง และมีการใช้ระบบสื่อ electronic ช่วยให้การประเมินโครงการเป็นไปอย่างรวดเร็ว มีการออกแนวทางปฏิบัติ/คู่มือ และแบบฟอร์มดำเนินการที่ชัดเจน มีความตระหนักเรื่อง Biosafety โดยมีการสัมมนา/อบรม และ update ในเรื่อง biosafety และเรื่องที่เกี่ยวข้อง (พรบ.) มีการตรวจสอบมาตรฐานห้องปฏิบัติการวิจัย และจัดทำฐานข้อมูลงานวิจัย จุดอ่อน IBC ไม่ตระหนักถึงความสำคัญ หรือขาดความกระตือรือร้นในการทำงาน และขาดความเชี่ยวชาญในเรื่องการประเมิน/ จัดการ และสื่อสารความเสี่ยง ขาดระบบการจัดการ/ข้อกำหนด ให้โครงการเข้ารับการพิจารณา และขาดอำนาจในการติดตามตรวจสอบ (จากมหาวิทยาลัย/ granting agency/ พรบ.) ไม่มี Biosafety officer (BSO)/ หรือหน่วยงานที่รับผิดชอบเป็นการเฉพาะ (เพื่อความต่อเนื่องในการดำเนินงาน/ เป็นจุดติดต่อ/ ติดตามงาน/ และมีงบประมาณดำเนินการเป็นการเฉพาะ) แบบฟอร์มและคู่มือต่างๆ เข้าใจอยาก (มาตรฐานในการตรวจสอบห้องปฏิบัติการ) ขาดการประชาสัมพันธ์ให้นักวิจัยรับทราบ เกิดความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญ ขาดการ update ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง (เทคโนโลยี/กฎ ระเบียบ) ขาดระบบรองรับการดำเนินงาน (เช่น กลไกการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ ฐานข้อมูล-ผู้เชี่ยวชาญ, สมช.ประเภทต่างๆ/ มาตรการกำจัดขยะพิษ) IBC ที่เป็นบุคคลภายนอกที่มิใช่สายวิทย์ฯ
3
โอกาส มีการระบุภาระหน้าที่ของ IBC ไว้ในกฎหมายชัดเจน ผู้บริหารตระหนักถึงความสำคัญ หน่วยงาน (กลุ่มงาน) หรือบุคลากร (BSO) รับผิดชอบที่ชัดเจน (เพื่อความต่อเนื่องในการดำเนินงาน/ เป็นจุดติดต่อ/ ติดตามงาน/ และมีงบประมาณดำเนินการเป็นการเฉพาะ) ระบบสนับสนุนการดำเนินงาน เช่น (มาตรฐานในการประเมินโครงการและติดตามผล – แบบฟอร์ม, guideline) มีแหล่งข้อมูลความรู้ ให้ความรู้กับ IBC อย่างต่อเนื่อง มีหน่วยงานกลางให้คำแนะนำหรือเป็นพี่เลี้ยง อุปสรรค ยังไม่มีการบังคับ/ บทลงโทษจากหน่วยงานให้ทุน หรือมหาวิทยาลัยอย่างแท้จริง ทำให้ไม่ได้รับความร่วมมือในการดำเนินงาน ขาดการสนับสนุนจากผู้บริหาร ขาดความชัดเจนของผู้รับผิดชอบโดยตรง ขาด BSO ทำงานเต็มเวลา ทำให้ไม่เกิดความต่อเนื่องในการดำเนินงาน ขาดการสื่อสาร/ ประสานงานระหว่างนักวิจัยกับ IBC ยังไม่มีระบบการติดตามตรวจสอบ หลังอนุญาต (ขาดอำนาจในการดำเนินงาน) องค์ประกอบ IBC (เป็นผู้บริหาร – มีภาระงานมาก เวลาในการทำงานน้อย/ ไม่เป็นผู้บริหาร – ขาดอำนาจในการสั่งการ) ขาดบุคคลากรมีความรู้
4
1. ขาดบุคลากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ
จัดฝึกอบรม BSO หรือ IBC โดยเน้นเรื่องการประเมินโครงการ นักวิจัย เรื่อง ความปลอดภัย การจัดการห้อง lab จัดทำหลักสูตร ส่งเสริมเรื่อง biosafety โดยบรรจุเป็นหลักสูตรในมหาวิทยาลัยสำหรับคนที่จะทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หรือฝากไว้ในบางวิชา เช่น Molecular ระบบประกันคุณภาพการศึกษาหรือการใช้สัตว์ทดลอง หมายเหตุ: คัดเลือกผู้เข้าร่วมฝึกอบรมที่เหมาะสม/ สร้างแรงจูงใจโดยกำหนดระดับความเชี่ยวชาญตามระดับที่เคยผ่านการฝึกอบรม/ และมีการออกใบรับรองจากหน่วยงานที่เชื่อถือได้ มีหน่วยงานกลางหรือกรรมการกลางเพื่อพิจารณาโครงการวิจัย
5
2. ขาดความชัดเจนของผู้รับผิดชอบโดยตรง
ทำให้แต่ละหน่วยงานตระหนักถึงความสำคัญ และกำหนดหน่วยงานรับผิดชอบภายใน และบุคคลากรผู้รับผิดชอบหลักหรือคนประสานงาน – แจ้งเรื่องดังกล่าวไปยังแต่ละสถาบันพร้อมสรุปผลการประชุม IBC ภูมิภาค กำหนดให้แต่ละสถาบันมีหน่วยงานหลักที่ทำหน้าที่รับผิดชอบไว้ใน พรบ. หน่วยงานที่เป็น authority ให้ความร่วมมือ/ ทำหน้าที่สร้างระบบในการตรวจสอบและให้ใบรับรองด้าน biosafety
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.