ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTalap Kongpaisarn ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
ภญ.ศิริรัตน์ เตชะธวัช กลุ่มบริหารเวชภัณฑ์ สำนักโรคติดต่อทั่วไป
2
การใช้วัคซีนเพื่อการป้องกันและควบคุมโรคหัด
ระยะก่อนเกิดโรค ระยะที่มีการระบาด
3
การใช้วัคซีนเพื่อการป้องกันและควบคุมโรค
ระยะก่อนเกิดโรค 1. การให้วัคซีนตามกำหนดการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (EPI routine และ EPI นักเรียน) 2. การเก็บตกในเด็กอายุก่อนวัยเรียน(<7 ปี) และเด็กนักเรียน (ป.1–ม.6) ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ 3. การรณรงค์ให้วัคซีนเสริมในเด็กก่อนวัยเรียนและเด็กนักเรียน ที่ไม่มีหลักฐานการได้รับวัคซีน หรือ ในประชากรกลุ่มเสี่ยงสูง เช่น เด็กในพื้นที่ทุรกันดาร เด็กด้อยโอกาส หรือ เด็กในกลุ่ม แรงงานต่างชาติ
4
การใช้วัคซีนเพื่อการป้องกันและควบคุมโรค
ระยะที่มีการระบาด 1.ในเด็กก่อนวัยเรียน coverage rate >95% Catch up เฉพาะราย coverage rate <95%หรือไม่สามารถประเมิน/ไม่แน่ใจ Mop up เด็ก ≥ 9 เดือน - 6 ปีทุกราย ใน 72 ชม. 2.ในเด็กนักเรียน : ตรวจสอบหลักฐานการได้รับวัคซีนป. 1 Catch up หรือ Mop up
5
การใช้วัคซีนเพื่อการป้องกันและควบคุมโรค
ระยะที่มีการระบาด 3.ในผู้ใหญ่ เกิดก่อน พ.ศ : ถ้าattack rate> 2 % หนังสือเบิกวัคซีน MMR+แบบประเมินอัตราป่วยรายกลุ่มอายุ เกิดตั้งแต่ พ.ศ : ตรวจสอบประวัติวัคซีนป ไม่เคย/ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ หนังสือขอเบิกวัคซีน MMR ห้ามให้วัคซีน MMR ในหญิงมีครรภ์
6
แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่(1)
ข้อมูลการระบาดเบื้องต้น การระบาดของโรค สถานที่พบผู้ป่วย ตำบล อำเภอ จังหวัด วันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายแรก / / วันที่พบผู้ป่วยรายแรก / /
7
แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่(2)
อัตราป่วยจำแนกรายกลุ่มอายุ กลุ่มอายุ จำนวนทั้งหมด จำนวนป่วย Attack rate(%) 15-19 ปี 20-24 ปี 25-29 ปี 30-34 ปี 35-39 ปี 40 ปีขึ้นไป รวม
8
แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่(3)
จำนวนวัคซีนที่ต้องการเบิก ขวด วันที่เริ่มให้วัคซีน / / ผู้ให้ข้อมูล สถานที่ทำงาน เบอร์โทรศัพท์ที่ทำงาน เบอร์โทรศัพท์เคลื่อนที่ วันที่ส่งแบบประเมิน / /
9
การจัดหาและกระจายวัคซีน(ก่อนและหลังปี 2552)
9
10
สปสช. กรมคร. บทบาทในการจัดหาและสนับสนุนวัคซีน (ปี 2553 ถึงปัจจุบัน)
วัคซีนพื้นฐาน (EPI Routine & EPI นักเรียน) วัคซีนไข้หวัดใหญ่สำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยง Rabies vaccines สปสช. วัคซีนในการกำจัดกวาดล้าง โรคหัดและโปลิโอ ตามพันธะสัญญานานาชาติ วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ในบุคลากร กลุ่มเสี่ยง วัคซีน ผู้เดินทางไปต่างประเทศ กรมคร.
11
การจัดหาวัคซีนในโครงการกำจัดโรคหัด
ปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุขให้วัคซีน MMR 2 ครั้ง ในเด็กอายุ 9-12 เดือน และเด็กชั้น ป.1 แล้ว ผู้เชี่ยวชาญจึงแนะนำให้ใช้วัคซีน MMR ในโครงการกำจัดโรคหัด กรมควบคุมโรค โดยสำนักโรคติดต่อทั่วไป จึงจัดหาวัคซีน MMR ชนิด multiple dose(10 โด๊ส/ขวด) ซึ่งมีไวรัสคางทูมสายพันธุ์ Urabe
12
แนวทางการสนับสนุนวัคซีนเพื่อการป้องกัน/ควบคุมการระบาด(1)
กรมควบคุมโรค และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้ประชุมหารือ เรื่อง บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในวันที่ 23 มิถุนายน ที่ประชุมมีมติให้ กรมควบคุมโรค โดยสำนักโรคติดต่อทั่วไป รับผิดชอบในการจัดหา และสนับสนุนวัคซีน OPV และ MMR ในโครงการกวาดล้างโรคโปลิโอ และการกำจัดโรคหัดตามพันธะ สัญญานานาชาติ ทุกกรณีที่ไม่ใช่การให้วัคซีน ตามระบบปกติ (EPI routine)
13
แนวทางการสนับสนุนวัคซีนเพื่อการป้องกัน/ควบคุมการระบาด(2)
สปสช. รับผิดชอบในการจัดหา และสนับสนุน วัคซีนอื่นที่ใช้ใน EPI routine (ยกเว้น OPV และ MMR) เพื่อรณรงค์เก็บตกให้วัคซีนในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน/ เด็กวัยเรียนที่ไม่ได้วัคซีนครบตามเกณฑ์ เพื่อรณรงค์ให้วัคซีนเสริมแก่เด็กก่อนวัยเรียน/เด็กวัยเรียน ที่ไม่สามารถตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน หรือ ในกลุ่มเสี่ยงสูง เพื่อป้องกันการระบาดของโรคติดต่ออื่น เช่น โรคคอตีบ (DTP-HB, DTP, dT) สสจ. ส่งหนังสือขอเบิกไปยัง “สำนักโรคติดต่อทั่วไป” เพื่อพิจารณาก่อนแจ้งให้ “สปสช.สนับสนุนวัคซีน”
14
สรุปแนวทางการเบิกวัคซีนก่อนการระบาด/เมื่อมีการระบาด
สสอ. ขอเบิก สสจ. รพ./สสจ. ขอเบิก MMR/OPV วัคซีนอื่น สรต. สปสช. GPO เห็นชอบ อนุมัติ
15
แนวทางการสนับสนุนวัคซีน MMR (1)
16
ตัวอย่าง แบบรายงานการให้วัคซีนเพื่อการรณรงค์/ควบคุมโรค
ตัวอย่าง แบบรายงานการให้วัคซีนเพื่อการรณรงค์/ควบคุมโรค พื้นที่รณรงค์หรือควบคุมโรค กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมด (คน) ได้รับวัคซีน (คน) ความครอบคลุม(%) 0-1 ปี 1-5 ปี นร. ป1 นร. ป2 25-29 ปี 30-34 ปี 35-39 ปี 40 ปีขึ้นไป รวม
17
แนวทางการสนับสนุนวัคซีน MMR (2)
หากต้องการใช้วัคซีนอย่างรีบด่วน เพื่อควบคุมการระบาด ขอให้ สสจ.ประสานงานมาได้ที่ กลุ่มบริหารเวชภัณฑ์ โทรศัพท์ และ โทรสาร หรือ สำนักโรคติดต่อทั่วไป จะจัดส่งโดยวิธีต่างๆ เช่น - จัดส่งให้เอง - ส่งทางรถไฟ รถทัวร์ หรือ บริษัทเอกชน
18
ขอบคุณค่ะ/ครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.